Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเตรียมสมุนไพร, IMG_1624, IMG_1625, IMG_1626 - Coggle Diagram
การเตรียมสมุนไพร
แบบผงแห้ง
1.การเก็บสมุนไพรสด
การเก็บสมุนไพรถือว่าเป็นขั้นตอนหนึ่งที่มีความสําคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะมีผลต่อปริมาณสารสําคัญและสรรพคุณทางยาของสมุนไพร เพื่อให้การเตรียมสมุนไพรมีความถูกต้องตามหลักวิชาการและภูมิปัญญาพื้นบ้านแปรรูปสมุนไพรควรมีความรู้ในการเก็บสมุนไพรสด
-
1.2 ช่วงระยะเวลาที่เก็บ
-
-
-
-
พืชที่ใช้รากหรือหัว
เก็บช่วงที่พืชหยุดการเจริญเติบโต ใบร่วงหมด (เรียก ช่วงเวลานี้ว่า ลงหัว) ซึ่งมักเป็นช่วงต้นฤดูหนาวถึงปลายฤดูร้อน
2.การล้างสมุนไพรให้สะอาด
โดยเฉพาะส่วนที่ขุดจากดิน เช่น เหง้า หรือราก ต้องล้างดินออกให้หมด และผึ่งในถาด ตะแกรงโปร่ง ที่มีรูขนาดกลางเพื่อระบายน้ําให้สะเด็ดน้ํา หั่นให้มีขนาดเล็กลงวัสดุที่ใช้เป็นถาด ได้แก่ ถาดสแตนเลสเจาะรู กระด้งที่มีรูขนาดกลาง หรือแคร่ไม้ไผ่ที่สะอาด
3.อบหรือตากแห้ง
-
-
ผึ่งให้แห้ง
เหมาะสําหรับพืชที่มีน้ํามันหอมระเหย มักใช้วิธีผูกเป็นมัดเล็กๆ แขวนที่เชือกหรือใส่กระด้ง กระจาดที่มีรูวางไว้ในที่โปร่งไม่โดนแดดส่องถึงโดยตรง มีลมพัดผ่านเกือบตลอดเวลา (ไม่สามารถทําได้ในภาคใต้เนื่องจากความชื้นในอากาศสูง พืชแห้งช้าจะขึ้นราได้ง่าย) ใช้อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส
4.การบดเป็นผง
อาจใช้เครื่องมือบดได้หลายชนิด เช่น ครกหิน ครกบดยาชนิดบดด้วยมือ หรือเครื่องบด ไฟฟ้าขนาดเล็ก ระดับอุตสาหกรรม หลังจากผ่านเข้าเครื่องบดแล้วให้นําไปผ่านแร่ง เพื่อแยกผง ยาที่มีความละเอียดสม่ำเสมอไปดําเนินการต่อ ความละเอียดของผงยาที่ใช้ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ ใช้เป็นผงในเครื่องสําอางผ่านแร่งเบอร์ 60 ขึ้นไป ใช้สําหรับสกัดให้บดหยาบ ไม่จําเป็นต้องผ่าน แร่ง หากใช้เครื่องบดที่มีตะแกรง ต้องใช้ตะแกรงหยาบที่สุด
แบบสารสกัด
การคั้นน้ำสด
.
สารสกัดที่ได้อาจเรียกว่า น้ําสกัด หรือน้ําคั้น และต้องใช้สมุนไพรสด บีบเอาแต่น้ํา ซึ่งเหมาะสมกับสมุนไพรที่ทนความร้อนไม่ได้ ซึ่งมีวิธีการเตรียมแยกเป็น 2 วิธี เลือกใช้ตามความเหมาะสม
-
-
ข้อเสีย
การสกัดแบบนี้สารสกัดสมุนไพรไม่ค่อยคงตัว มักต้องใช้สารกันบูด ควรเตรียมแล้วผลิตเครื่องสําอางทันที หรือแช่เย็นไว้ 1 วัน :
การควบคุมคุณภาพ
-
-
-
เติมน้ําภายหลัง ให้ได้น้ําหนัก ประมาณ 30-50% ของน้ําหนักสด (ต้องให้ได้น้ําเท่าเดิมทุกครั้งที่สกัด เช่น น้ําสกัดน้ําหนักเป็นหนึ่งเท่า หรือเท่าครึ่งของสมุนไพรสด)
-
การต้ม
1.3 นำกากมาต้มซ้ำเช่นเดิม และรวมน้ำสกัด 2 ครั้ง เข้าด้วยกัน ตั้งไฟเคี่ยวต่อจนได้ น้ำหนักที่ต้องการ การเคี่ยวอาจไม่ใช้ไฟตรง เพื่อหลีกเลี่ยงการไหม้ ส่วน ใหญ่จะนิยมให้น้ำหนักน้ำสกัดเท่ากับน้ำหนักสมุนไพรที่ นำมาสกัด เช่น สมุนไพร 1 กก. เมื่อสกัดเสร็จแล้วได้ น้ำสกัด 1 กก. ซึ่งง่ายต่อการคำนวณสัดส่วนในเครื่อง สำอาง
1.2 เติมน้ำ 3-5 เท่า ของน้ำหนัก ถ้าเป็นสมุนไพรสด จะใช้น้อยกว่า โดยให้น้ำท่วมสูงเกินสมุนไพรประมาณ 5 นิ้ว จดบันทึกน้ำหนักของน้ำที่ใช้ ถ้าเป็นสมุนไพร แห้งให้แช่ในน้ำ 20 นาที ก่อนนำขึ้นตั้งไฟปานกลางจน เดือด จับเวลาเมื่อเริ่มเดือด ใช้เวลาประมาณ 30-45 นาที หากน้ำแห้งให้เติม เมื่อสีน้ำสกัดไม่เข้มจากเดิมให้ ยกลงกรองด้วยผ้าขาวบาง 3 ชั้น
1.1 ให้ชั่งสมุนไพรสด หรือแห้ง (ตามข้อแนะนำของ แผนโบราณ) ย่อยสมุนไพรให้มีขนาดเล็กพอประมาณ ห้ามบดละเอียด
1.4 ข้อเสีย กรณีที่จะเตรียมเก็บไว้นานๆอาจมีเชื้อ แบคทีเรีย หรือราทำให้บูดเน่าเสียได้ง่าย สามารถแก้ไข ได้ 2 วิธี คือ เติมสารกันเสีย หรือเคี่ยวให้เข้มข้นมาก ที่สุดเท่าที่จะทำได้ เช่น เคี่ยวจนเหลือน้ำหนัก 1 ใน 5 แต่ต้องระวังไม่ให้ไหม้และจดน้ำหนักสุดท้ายที่ได้ หลัง จากนั้นให้ สรุปการสกัด และเก็บข้อมูลไว้เป็นเทคนิคใน การสกัดครั้งต่อไป
1.5 ปัจจัยที่ต้องควบคุมในการสกัดแบบต้ม ได้แก่ อัตราส่วน ระหว่างน้ำและสมุนไพร เวลาที่ใช้ต้ม รายละเอียดอื่นๆ เช่น น้ำก่อนต้ม เวลาที่ใช้แช่สมุนไพรก่อนนำขึ้นตั้งไฟ น้ำหนัก สาร สกัดที่ได้ต้องเท่าเดิม และจดรายละเอียดทุกครั้งที่สกัดโดยทำ เป็นรายงาน
การสกัดด้วยแอลกอฮอล์
ตัวทําละลายที่ใช้ คือ เอทิลแอลกอฮอล์ ( ethyl alcohol) เป็นการสกัดที่ได้สารเคมีจากพืชในปริมาณมากที่สุด แต่มีข้อเสีย คือ ได้สารที่ไม่ต้องการติดมาด้วย และในการทําให้เข้มข้น ต้องใช้เครื่องมือที่มีราคาแพง จึงเหมาะสมสําหรับการสกัดในระดับอุตสาหกรรมเท่านั้น
การหมัก
เหมาะสําหรับสารที่ไม่ทนต่อความร้อนตัวอย่าง เช่น การสกัดพญายอ การสกัดยานอนหลับ จากใบขี้เหล็ก หรือยาดองเหล้าของไทยเกือบทุกชนิด
-
วิธีทำ
-
-
-
-
เอาสารสกัด 2 ครั้งรวมกัน นําไปทําให้เข้มข้นด้วยเครื่องระเหยแห้งสุญญากาศ เพื่อป้องกันอันตรายต่อคนทํางานและป้องกันการทําลายสิ่งแวดล้อม ห้ามนำไปทำให้เข้มข้นด้วยการตั้งไฟตรง หรือตุ๋นในลังถึงหรือเครื่องไอน้ำ เพราะแอลกอฮอล์ที่ระเหยออกมาขณะทํางาน จะกระจายในอากาศบริเวณนั้น ผู้ทํางานจะมีอาการเหมือนคนเมาเหล้าและสิ่งแวดล้อมจะเสียไป จึงไม่แนะนําการสกัดวิธีนี้ในชุมชน นอกจากสามารถพัฒนาเครื่องมือกักเก็บแอลกอฮอล์ที่ระเหยออกมาและนํากลับไปใช้ใหม่ได้
-
-
-