Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Endocrine System - Coggle Diagram
Endocrine System
Pituitary hormones and their control by Hypothalamus
ฮอร์โมนต่อมใต้สมองจาก Pituitary Gland และ Hypothalamus
วางอยู่ที่แอ่งของกระดูก Sphenoid ที่ Anterior and inferior to the Thalamus
ต่อมนี้ถูกเชื่อมอยู่กับส่วนของ Hypothalamus
โดยอาศัยก้าน Infundibulum (Pituitary stalk)
มีลักษณะเป็นต่อมรูปไข่สีน้ำตาลแดง
ฮอร์โมนต่อมใต้สมองจาก Pituitary Gland และ Hypothalamus
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Anterior pituitary)
Adenohypophysis
Growth hormone (GH)
Prolactin (PRL)
Adrenocorticotropin (ACTH)
Thyroid-stimulating hormone (TSH)
Follicle stimulating hormonr (FSH)
Luteinizing hotmone (LH)
Interstitial cell-stimulating hormone (ICSH)
Melanocyte-stimulating hormone (MSH)
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (Posterior pituitary)
Neurohypophysis
Antidiuretic hormone (ADH)
Oxytocin
ต่อมใต้สมอง (Pituitary Gland) หรือ Hypophysis จัดเป็นส่วนหนึ่งของ Diencephalon
ฮอร์โมนกระตุ้นการเจริญเติบโต (Growth hormone, GH)
Protein hormone
กระตุ้นกระบวนการต่าง ๆ ที่ส่งผล ในการเพิ่มการเจริญเติบโตของเซลล์
ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์ (Thyroid-stimulating hormone, TSH/ Thyrotropin)
Glycoprotein hormone
กระตุ้นการเจริญเติบโตและควบคุม การทำงานของต่อมไทรอยด์
ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมหมวกไต (Adrenocorticotropic hormone , ACTH/ Corticotropin)
Peptide hormone
กระตุ้นการเจริญเติบโตและควบคุมการทำงาน ของต่อมหมวกไต
ฮอร์โมนเพศ (Follicle-Stimulating hormone, FSH และ Luteinizing hormone, LH)
FSH : Glycoprotein hormone
เพศหญิง : กระตุ้นการเจริญของไข่ในรังไข่ ทำให้มีการพัฒนาไข่ ให้สมบูรณ์
เพศชาย : กระตุ้นการเจริญของอสุจิภายในอัณฑะ ทำให้มีการ สร้างอสุจิ
LH : Glycoprotein hormone
เพศชาย : กระตุ้นการสังเคราะห์ฮอร์โมน Testosterone
เพศหญิง : กระตุ้นการสังเคราะห์ฮอร์ โมน Estrogen และการ กระตุ้นการสังเคราะห์ฮอร์ โมน Estrogen และการ เจริญเติบโตของไข่ ทำให้ไข่สุก และมีการตกไข่
ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมน้ำนม (Prolactin, PRL)
Peptide hormone
กระตุ้นการเจริญเติบโตและ ควบคุมการทำงานของต่อม น้ำนม เพื่อให้มีการสร้างน้ำนม
ฮอร์โมนกระตุ้นเซลล์เม็ดสี (Melanocyte-stimulating hormone, MSH)
Peptide hormone
กระตุ้นการการสร้างเม็ดสี เมลานินบนผิวหนัง
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง (Posterior pituitary gland หรือ Neurohypophysis)
ฮอร์โมนออกซิโทซิน (Oxytocin)
Peptide hormone
มีผลโดยตรงที่กล้ามเนื้อเรียบของมดลูกและเต้า นม โดยกระตุ้นการหลั่งน้ำนม, กระตุ้นการคลอด
ฮอร์โมนควบคุมสมดุลนำในร่างกาย (Antidiuretic Hormone ,ADH)
Peptide hormone
กระตุ้นการดูดน้ำกลับ เพื่อรักษาสมดุลของน้ำ
ต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland)
Amine hormone
ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย การเผาผลาญ อุณหภูมิ
แคลซิโทนิน (Calcitonin)
Peptide hormone
ลดระดับแคลเซียมในเลือด
ต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid gland)
ฮอร์โมนพาราไทรอยด์ (Parathyroid hormone, PTH)
Peptide hormone
เพิ่มระดับแคลเซียมในเลือด
ต่อมไทมัส (Thymus gland)
ต่อมอยู่ระหว่างกระดูกหน้าอกกับหลอดเลือด Aorta วางตัวอยู่ด้านหน้าและปกคลุมอยู่ทางด้านบนของหัวใจ
ต่อมหมวกไต (Adrenal gland)
ต่อมหมวกไต ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ
ส่วน Adrenal cortex แบ่งได้ 3 ชั้น
Zona fasciculata -) ฮอร์โมน Cortiso! > รักษาสมดุลในระบบเมตาบอลิซึมของน้ำตาล (Glucose metabolism)
Zona reticularis ฮอร์โมน Androgen -> ควบคุมลักษณะทางเพศ (Masculinization)
Zona glomerulosa > ฮอร์โมน Aldosterone > รักษาสมดุลน้ำและเกลือแร่ (Nat retention at Collecting ducts)
ส่วน Adrenal medulla - > Epinephrine & Norepinephrine - > กระตุ้นการทำงานของระบU Sympathetic nervous system
ต่อมไพเนียล (Pineal gland)
ต่อมไพเนียล อยู่เหนือสมองส่วนกลางและอยู่หลังต่อโพรง สมองที่ 3 (Third ventricle)
หลั่งฮอร์โมน Melatonin ทำหน้าที่ควบคุมวงจรการตื่นและ การหลับของมนุษย์
ตับอ่อน (Pancreas)
Type II Diabetes Mellitus
ตับอ่อนสามารถสร้างอินซูลินได้ แต่มีภาวะดื้อต่ออินซูลิน
Gestational and other DM
มีภาวะขาดหรือดื้อต่ออินซูลิน เกิดภาวะ Hyperglycemia ในหญิง ตั้งครรภ์และผู้ที่มีอาการป่วยที่ส่งผล
Type I Diabetes Mellitus
ตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้ มักพบในเด็กหรือผู้ที่มีอายุน้อยกว่า 30 ปี ต้องรักษาด้วยการฉีดอินซูลิน
อวัยวะสืบพันธุ์และรก (Gonads and Placenta)
คุณสมบัติทางสรีรวิทยาของฮอร์โมน
(Hormone physiology features)
การขนส่ง (Transport)
P&P, C- ขนส่งโดยอิสระไปตามการไหลเวียนเลือด
S, T- ขนส่งไปโดยการจับกับโปรตีนตัวนำ (Carrier proteins)
การจับกับตัวรับ (Receptor binding)
P&P, C > จับกับตัวรับบนผิวเซลล์ (Cell membrane receptors)
S, T-> จับกับตัวรับที่อยู่ภายในเซลล์ (Intracellular receptors)
การสังเคราะห์ (Synthesis)
S-> สังเคราะห์และหลั่งตามความต้องการ
P&P, A-> สังเคราะห์ขึ้นมาและเก็บไว้
การตอบสนอง (Effects)
p&p, C- การเปลี่ยนแปลงโปรตีน (Protein modification)
P&P, S, T- > การสังเคราะห์โปรตีน (Protein synthesis)
การสังเคราะห์ฮอร์โมน (Hormone synthesis)
โปรตีน (Peptides and Protein (P&P))
สเตียรอยด์ (Steroids (S)
เอมีน (Amines (A))
แคททีโคลามีน (Catecholamines (C)
ไทรอยด์ (Thyroid (Iodothyronines) (T))
Introduction to Endocrinology
ระบบที่ควบคุมการเปลี่ยนแปลงของร่างกายและควบคุม กระบวนการต่าง ๆ ที่สำคัญภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตซึ่งเป็น ระบบที่ทำงานสอดประสานร่วมกับระบบประสาท โดยอาศัย การสื่อสารกันระหว่างเซลล์ (Cell to cell communication)
สารเคมีที่ร่างกายสร้างขึ้นมา เรียกว่า "ฮอร์โมน (Hormones)"
บทบาทหน้าที่
ㆍ ควบคุมการเจริญเติบโต, เมทาบอลิซึม, และการพัฒนาของเซลล์
ควบคุมสมดุลของสารน้ำ, เกลือแร่, และอิเล็กทรอไลท์ต่างๆ
ควบคุมการทำงานของระบบต่างๆในร่างกาย
ควบคุมการทำงานของระบบสืบพันธุ์ทั้งในภาวะปกติ,
ตังครรภ์, และหลังคลอด
การควบคุมการหลังของฮอร์โมน (Regulation of hormone secretion)
Negative feedback
Positive feedback
Multilevel feedback