Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบทางด่วน (Fast track/Pathway system) สำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด…
ระบบทางด่วน (Fast track/Pathway system) สำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
อาศัยหลักการ
จัดทำรายการตรวจสอบสำหรับการลงข้อมูล ตรวจสอบข้อมูลต่าง ๆ
ฝึกอบรมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้มีความรู้และสามารถดำเนินการตามระบบทางด่วน
จัดทำแนวปฏิบัติ ลำดับการปฏิบัติในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยตั้งแต่ผู้ป่วยมาถึงประตูโรงพยาบาล หรือห้องฉุกเฉิน พร้อมกำหนดหน้าที่ต่าง ๆ ของผู้ที่เกี่ยวข้อง
แผนการปฏิบัติต้องเน้นย้ำเวลาเป็นสำคัญ ต้องมีแผนปฏิบัติการรองรับเพื่อให้สามารถดูแลผู้ป่วยได้ตามมาตรฐานที่กำหนด
จัดทำแผนภูมิการดูแลผู้ป่วย พร้อมกำหนดลักษณะผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วนที่เข้าระบบทางด่วน
กำหนด clinical indicator เพื่อติดตามและประเมินผลในแต่ละขั้นตอนของระบบทางด่วนสำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
การจัดทำควรเป็นทีมสหสาขาวิชาชีพ ประกอบด้วย แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ในส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมาร่วมดำเนินการ
บทบาทพยาบาลกับระบบทางด่วน (Fast tract)
การจัดการและดูแลขณะส่งต่อ
การให้การดูแลตามแผนการรักษาภายใต้ระยะเวลาที่กำหนด
การประสานงานผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กร
การติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
การรายงานแพทย์ผู้รักษาเพื่อตัดสินใจสั่งการรักษา
การให้ความช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติและติดตามการประเมินผลลัพธ์
การประเมินเบื้องต้นโดยใช้ความรู้ ความสามารถเฉพาะโรค
การดำเนินงานเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานในภาพรวม
การจัดระบบให้มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
บทบาทพยาบลในระบบทางด่วน
Care delivery
Monitoring: early warning signs & R-response
Investigation
Risk management (general & clinical)
Flow (purpose-process-performance)
Co-ordination, Communication, Handover
Activate system
Inter & Intra transportation
Triage/Specific triage/Assessment
Evaluation, out put, outcome
EMS (accessibility)
Improvement, Innovation, Integration