Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย - Coggle…
บทที่ 5 แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
ความหมาย
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน จำเป็นต้องดำเนินการช่วยเหลือ และการดูแลรักษาทันที อาจเกิดจากภาวะต่างๆ
การเจ็บป่วยวิกฤต
การเจ็บป่วยที่มีความรุนแรงถึงขั้นที่อาจทำให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตหรือพิการได้
ผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
ผู้ที่ทีอาการหนักรุนแรงต้องการการดูแลจากเจ้าหน้าที่ที่มีความชำนาญ เฉพาะทาง โดยใช้หลักและกระบวนการพยาบาลที่สมบูรณ์ เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะคุกคามชีวิต
ลักษณะทางคลินิก
ไม่รู้สึกตัว ชัก เป็นอัมพาต
หยุดหายใจ หายใจช้ากว่า 10 ครั้งต่อนาที หรือเร็วกว่า 30 ครั้งต่อนาที หายใจลำบากหรือหอบเหนื่อย
คลำชีพจรไม่ได้ หรือชีพจรช้ากว่า 40 หรือเร็วกว่า 30 ครั้ง/นาที
ความดันโลหิต Systolic ต่ำกว่า 80 มม.ปรอท หรือ Diastolic สูงกว่า 130 มม.ปรอท
เจ็บปวดทุรนทุรายกระสับกระส่าย
มือเท้าซีดเย็น เหงื่อออกมาก
อุณหภูมิของร่างกายต่ำกว่า 35 เซลเซียส หรือสูงกว่า 40 เซลเซียส
ถูกพิษจากสัตว์ เช่น งู หรือสารพิษชนิดต่างๆ
ตกเลือดเลือดออกมากซีดมาก
ผู้ป่วยวิกฤตมีลักษณะดังนี้
ผู้ป่วยที่มีอัตราตายสูง เช่น ผู้ป่วย Septic Shock
ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มที่จะมีอาการรุนแรง เช่น ผู้ป่วย myocardialin farction
ผู้ป่วยที่สามารถรักษาได้ เช่น ผู้ป่วยที่หมดสติ
ผู้ป่วยที่อัตราตายสูง แม้จะได้รับการรักษา เช่น ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย
หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
หลักทั่วไปในการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
การบันทึกเหตุการณ์อาการและการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
การป้องกันและบรรเทาไม่ให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นวิกฤต
การส่งต่อรักษา
เพื่อช่วยชีวิต
หลักในการพยาบาล
มีหลักในการอุ้มยกเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจากยานพาหนะไปยังห้องพยาบาล อย่างนุ่มนวลรวดเร็ว ปลอดภัย
มีการซักประวัติการเจ็บปYวยและอาการสำคัญอย;างละเอียด ในเวลาที่รวดเร็ว
ทำการคัดกรองผู้ป่วยอย่างรวดเร็วแม่นยำ
ให้การรักษาพยาบาลภายใต้นโยบายของโรงพยาบาล และภายในเขตการรับรองของกฎหมาย โดยคงไว้ซึ่งหน้าที่ของอวัยวะสำคัญชีวิตและสภาพร่างกายของผู้ป่วย
ให้การช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกต้อง
ให้การดูแลจิตใจของผู้ป่วยและญาติ
มีการนัดหมายผู้ป่วยที่ไม่ได้นอนโรงพยาบาลเพื่อให้การรักษาต่อเนื่อง
มีการส่งต่อเพื่อการรักษาทั้งในหอผู้ป่วยในแผนกผู้ป่วยหนัก และภายนอกโรงพยาบาล
การพยาบาลสาธารณภัย
การจัดระดับความรุนแรงของสาธารณภัยทางสาธารณสุข
ความรุนแรงระดับที่ 2 : สาธารณภัยขนาดกลาง หน่วยงานสาธารณสุขระดับอำเภอไม่สามารถจัดการได้ ต้องอาศัยความช่วยเหลือจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในการจัดการเข้าระงับภัย
ความรุนแรงระดับที่ 3 : สาธารณภัยขนาดใหญ; ที่มีผลกระทบรุนแรงกว้างขวาง หรือสาธารณภัยที่
จำเป็นต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญหรืออุปกรณ์พิเศษ
ความรุนแรงระดับที่ 1 : สาธารณภัยที่เกิดขึ้นทั่วไปหรือมีขนาดเล็ก ซึ่งสำนักงานสาธารณสุขในระดับ
อำเภอสามารถจัดการได้ตามลำพัง
ความรุนแรงระดับที่ 4 : สาธารณภัยขนาดใหญ่ ที่มีผลกระทบรุนแรงยิ่ง นายกรัฐมนตรีหรือรอง
นายกรัฐมนตรี
อุบัติเหตุกลุ่มชน/อุบัติภัยหมู่
มีการทำลายของทรัพย์สินหรือสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรที่มีอยู่ในภาวะปกติไม่เพียงพอที่จะนำมาใช้ควบคู่สถานการณ
เกิดการบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วยของประชาชนจำนวนมาก
ระบบและกลไกปกติของสังคมถูกทำลายหรือไม่เพียงพอที่จะควบคุมสถานการณ์ได7
หลักการพยาบาลสาธารณภัย
การเตรียมความพร้อม (Preparedness)
: การรองรับเหตุการณ์ฉุกเฉิน
การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน (Response)
โดยยึดตามหลัก CSCATT
การบรรเทาภัย (Mitigation)
: กิจกรรมต่าง ๆ ที่ดำเนินการเพื่อลดหรือกำจัดโอกาสในการเกิดหรือลดผลกระทบของการเกิดภัยพิบัติ
การควบคุมยับยั้งโรคและภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
การบูรณะฟื้นฟู (Recovery)
หลักการบริหารจัดการในที่เกิดเหตุและรักษาผู้บาดเจ็บ
Disaster paradigm
I - Incident command คือ ระบบการบัญชาเหตุการณ์และผู้ดูภาพรวมของการปฏิบัติการทั้งหมด
S – Safety and Security คือ การประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในที่เกิดเหตุ
D – Detection คือ การประเมินสถานการณ์ว่าเกินกำลังหรือไม่
A – Assess Hazards คือ การประเมินสถานที่เกิดเหตุ
T – Triage/Treatment คือ การคัดกรองและให้การรักษาที่รีบด่วนตามความจำเป็นของผู้ป่วย
E – Evacuation คือ การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างเหตุการณ์
S – Support คือ การเตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ในที่เกิดเหตุ
R – Recovery คือ การฟื้นฟูสภาพหลังจากเกิดเหตุการณ์
ระบบทางด่วน (Fast track/Pathway system)
ระบบทางด่วน (Fast track/Pathway system)
การประเมินเบื้องต้นโดยใช้ความรู้ ความสามารถเฉพาะโรค
การรายงานแพทย์ผู้รักษาเพื่อตัดสินใจสั่งการรักษา
การประสานงานผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กร
การจัดการและดูแลขณะส่งต่อ
การให้การดูแลตามแผนการรักษาภายใต้ระยะเวลาที่จำกัด
การติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
การให้ความช้วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติและติดตามการประเมินผลลัพธ์
การดำเนินงานเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานในภาพรวม
การจัดระบบให้มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง