Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดหลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย - Coggle Diagram
แนวคิดหลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
แนวคิด
Franco-German Model (FGM)
แพทย์ให้การดูแล โดยมีทีมเวชกิจฉุกเฉินช่วย
อาจนําเทคโนโลยีรวมไปให้การดูแลในขั้นสูง
ค่าใช้จ่ายต่ำกว่า
นําบริการโรงพยาบาลมาหาผู้ป่วย
รถ Ambulance, Helicopter
และ Coastal ambulance
ลําเลียงผู้ป่วยส่งหน่วยเฉพาะทาง
Anglo-American Model (AAM)
ทีมเวชกิจฉุกเฉินให้การดูแลโดย
มีแพทย์
ลําเลียงผู้ป่วยส่งตรงห้องฉุกเฉิน
นําผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลให้เร็วที่สุด
ค่าใช้จ่ายสูงกว่า FGM
รถ Ambulance เป็นหลัก
ความหมาย
การเจ็บป่วยวิกฤต
Critical Care เพื่อดํารงรักษาชีวิตมุ่งเน้นแก่ไขอาการที่ปรากฏในครั้งแรกและการป้องกันไม่ให้เข้าสู่สถานการณ์คับขัน
Crisis care เพื่อช่วยชีวิตผู้ป่วยการรักษา จึงมุ่งเน้นแก้ไขอาการที่ปรากฏอันตราย
อุบัติเหตุ (Accident)
อุบัติการณ์ซึ่งเกิดขึ้น โดยไม่คาดหมายมาก่อน ทําให้เกิดการบาดเจ็บตายและการสูญเสียทรัพย์สินโดยที่เราไม่ต้องการ
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การเจ็บปวยที่เกิดขึนอย่างกะทันหัน จําเป็นต้องดําเนินการช่วยเหลือ และการดูแลรักษาทันที อาจเกิดจากภาวะต่างๆ
หลักทั่วไปในการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
การป้องกันและบรรเทาไม่ให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นวิกฤต เช่น การทําแผล การใส่เฝือกชั่วคราวกระดูกที่หัก
เพื่อช่วยชีวิต เช่น ผู้ป่วยที่มีภาวะหยุดหายใจ หรือหัวใจหยุดเต้นกะทันหัน
การบันทึกเหตุการณ์อาการและการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
การส่งต่อรักษาหลังจากให้การช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยแล้วต้องรีบเคลื่อนย้ายนําส่งโรงพยาบาล
หลักการพยาบาลตามบทบาทพยาบาลวิชาชีพงานบริการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินของสภาการพยาบาล พ.ศ. 2552
ดูแลและรักษาสภาวะของผู้ป่วยให้อยู่ระดับปลอดภัย
และคงที่โดยการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
ค้นหาสาเหตุและ/หรือปัญหาที่ทำให้เกิดภาวะฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุแล้วดำเนินการแก้ไข
รักษาหน้าที่ต่างๆ ของอวัยวะสำคัญของร่นางกายให้คงไว
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและติดเชื้อ
ดำเนินการแก้ไขปัญหาที่กำลังคุกคามชีวิตผู้ป่วย
ประคับประคองจิตใจและอารมณ์ของผู้ป่วยและญาติ
ประเภทของภัยพิบัติ
ภัยที่เกิดจากธรรมชาติ (Natural Disaster) ได้แก่ เกิดแบบฉับพลันและเกิดแบบค่อยเป็นค่อยไป
ภัยที่เกิดจากมนุษย์ (Man-made Disaster) ได้แก่ เกิดอย่างจงใจและเกิดอย่างไม่จงใจ
การจัดระดับความรุนแรงของสาธารณภัยทางสาธารณสุข
ความรุนแรงระดับที่ 3 : สาธารณภัยขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบรุนแรง
กว้างขวาง หรือสาธารณภัยที่จําเป็นต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญหรืออุปกรณ์พิเศษ
ความรุนแรงระดับที่ 2 : สาธารณภัยขนาดกลางหน่วยงานสาธารณสุขระดับอำเภอ ไม่สามารถจัดการได้ต้องอาศัยความช่วยเหลือจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในการจัดการเข้าระงับภัย
ความรุนแรงระดับที่ 4 : สาธารณภัยขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบรุนแรงยิ่ง นายกรัฐมนตรี หรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกฯ มอบหมายให้เป็นผู้ควบคุมสถานการณ์ ในด้านการแพทย์และการสาธารณสุข
ความรุนแรงระดับที่ 1 : สาธารณภัยที่เกิดขึ้นทั่วไปหรือมีขนาดเล็ก ซึ่งสำนักงานสาธารณสุขในระดับอำเภอสามารถจัดการได้ตามลำพัง
ประเภทของอุบัติภัยหมู่แบ่งตามขีดความสามารถของสถานพยาบาล
Multiple casualties ทั้งจำนวนและความรุนแรงของผู้ป่วยไม่เกินขีดความสามารถของโรงพยาบาล ผู้ป่วยที่มีภาวะคุกคามต่อชีวิต (life Threatening) จะได้รับการรักษาก่อน
Mass casualties ทั้งจำนวนและความรุนแรงของผู้ป่วยเกินขีดความสามารถของโรงพยาบาลและทีมผู้รักษา ผู้ป่วยที่มีโอกาสรอดชีวิตมากที่สุด โดยใช้เวลาและทรัพยากรน้อยที่สุดจะได้รับการรักษาก่อน
หลักการพยาบาลสาธารณภัย
การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน (Response)
ต้องมีการดำเนินการทันเมื่อเกิดภัย
การควบคุมยับยั้งโรคและภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
ต้องจัดให้มีระบบเฝ้าระวังภายใน 5 วันหลังภัยพิบัติ
การเตรียมความพร้อม (Preparedness)
การรองรับเหตุการณ์ฉุกเฉิน เป็นระยะต่อเนื่องจากการบรรเทาภัย โดยการเตรียมคนให้พร้อม มีแผนที่ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน มีการฝึกอบรมความรู้และทักษะ
การบูรณะฟื้นฟู (Recovery)
เป็นระยะสุดท้ายในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ซึ่งต้อง
ดำเนินไปเรื่อยๆ จนกว่าทุกอย่างจะกลับสู่ภาวะปกติหรือใกล้เคียงกับปกติมากที่สุด
การบรรเทาภัย (Mitigation)
กิจกรรมต่างๆ ที่ดำเนินการเพื่อลดหรือกำจัดโอกาสในการเกิดหรือลดผล
กระทบของการเกิดภัยพิบัต
ระบบการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma care system)
การดูแลในระยะที่อยู่โรงพยาบาล (Hospital care)
การฟื้นฟูสภาพ และการส่งต่อ (Rehabilitation & transfer)
การดูแลในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล (Prehospital care)
การเข้าถึงหรือรับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น (Access)