Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Theories of Developmental Psychology, นางสาวผจงจิตต์ บุญสิริวิวัฒน์ …
Theories of Developmental Psychology
1.Psychosexual Developmental Stage :
Sigmund Freud
แนวคิดพื้นฐาน 3 ประการของจิตวิเคราะห์
1.Psychic determinationทุกกระบวนการของจิตใจถูกกำหนดมาแล้วโดยจิตใต้สำนึก (unconscious) หรือความซับซ้อนภายในจิตใจทีมีอยู่เดิมไม่ได้เกิดขึ้นมาโดยบังเอิญ
2.Unconscious mental activity
Freud เชื่อว่าการทำงานของจิตใต้สำนึกมีอิทธิพลอย่างมากต่อการแสดงอาการหรือพฤติกรรมต่างๆ
3.Role of childhood experience in shaping the adult personality
ประสบการณ์ที่สั่งสมมาตั้งแต่วัยเด็ก มีบทบาทต่อลักษณะนิสัยในวัยผู้ใหญ่
ซิกมันด์ฟรอยด์แบ่งภาวะของจิตออกเป็น 2 ส่วน
จิตรู้สำนึก (Concious Mind) เป็นส่วนที่รู้สึกตัวแสดงออกอย่างมี
สติ สัมปชัญญะ สัมพันธ์กับความเป็นจริง
จิตไร้สำนึก (Unconsious Mind) เป็นส่วนที่ไม่รู้สึกตัว ซึ่งถูกควบคุมโดยสัญชาตญาณ (Life Instinct และ Death Instinct)
ภาวะของจิตทั้ง 2 ถูกขับเคลื่อนด้วยพลังจิต 3 พลังงานคือ พลัง id พลัง ego และ superego
โครงสร้างบุคลิกภาพ
ID อิด เป็นแหล่งของพลังงานที่สนับสนุนการกระทำที่นำไปสู่ “หลักแห่งความสุขและความพอใจ” (Pleasure principle) มีสภาพเป็นภาวะจิตไร้สำนึก มีความสัมพันธ์กับความต้องการของร่างกาย
EDO อีโก้ เป็นพลังงานจิตที่สัมพันธ์กับกิจกรรมที่เป็นเหตุผลเป็นแรงขับของการกระทำที่ควบคุมความคิดให้อยู่ในหลักของ “ความเป็นจริง” EGO เป็นตัวประนีประนอม
SUPERซุปเปอร์อีโก้ จิตส่วนที่พัฒนาจาก
ประสบการณ์
การอบรมสั่งสอน
2.Psychosocial Developmental Stage : Erik Erikson
พัฒนาการบุคคลิกภาพ
ขั้นที่1 ระยะทารก
ขั้นไว้วางใจ แต่ไม่ไว้ใจผู้อื่น
ขั้นที่2 วัยเริ่มต้น
ขั้นมีความเป็นอิสระ
ขั้นที่3 ระยะก่อนไปโรงเรียน
ขั้นเริ่มมีความคิดริเริ่ม
ขั้นที่4 ระยะไปโรงเรียน
ขั้นเอาการเอางาน กับความรู้สึกมีปมด้อย
ขั้นที่5 ระยะวัยรุ่น
ขั้นเข้าใจอัตลักษณ์ของตนเอง กับความไม่เข้าใจตนเอง
ขั้นที่6 ระยะวัยผู้ใหญ่
ขั้นความใกล้ชิดสนิทสนม กับความรู้สึกเปล่าเปลี่ยว
ขั้นที่7 ระยะผู้ใหญ่
ขั้นการอนุเคราะห์เกื้อกูล กับพะวงแต่ตนเอง
ขั้นที่8 ระยะวัยสูงอายุ
ขั้นมั่นคงทางจิตใจ กับความรู้สึกสิ้นหวัง
3.Cognitive Development Theory :
Jean Piaget
มนุษย์พร้อมที่จะมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
ตลอดเวลา จนเกิดเป็นพัฒนาการทางด้านสติปัญญา
2 ลักษณะธรรมชาติที่ติดตัวมาแต่กำเนิดของมนุษย์
1.การจัดและรวบรวม (Organization) เป็นการจัดและรวบรวมกระบวนการต่าง ๆ เข้าเป็นระบบอย่างต่อเนื่อง และมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาผ่านการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
การปรับตัว (Adaptation) การปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมเพื่ออยู่ในสภาพสมดุล การปรับตัวประกอบด้วยกระบวนการ 2 อย่าง
1.การดูดซึมหรือการขยายโครงสร้าง
2.การปรับเข้าสู่โครงสร้าง
ขั้นพัฒนาการมี4ระยะ
ช่วงอายุ0-2ปี
รูปแบบพัฒนาการ 4 ลักษณะของขั้นนี้
1) พัฒนาการจากการตอบสนองแบบอัตโนมัติ (Reflex) ไปสู่กิจกรรมที่มีจุดหมาย
2) พัฒนาจากความต้องการพื้นฐาน (กิน นอน) ไปสู่การสำรวจสิ่งแวดล้อม
3) พัฒนาการจากการเคลื่อนไหวของร่างกายไปสู่การเรียนรู้สิ่งรอบตัว
4) พัฒนาความเข้าใจเกี่ยวกับความคงอยู่ของวัตถุ
ช่วงอายุ 2-7ปี
●เด็กยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง เพราะยังไม่เข้าใจความคิดของผู้อื่นที่ต่างจากตน
●เด็กเริ่มใช้ภาษาพูดในการสื่อสาร
●เริ่มมีพฤติกรรมเลียนแบบผู้ใหญ่
ช่วงอายุ7-12ปี
●เด็กมีความสามารถในการแก้ปัญหาที่ดีขึ้น แต่จะยังแก้ปัญหาตามสิ่งที่เคยเห็นหรือมีประสบการณ์มาก่อน
●ยังไม่สามารถวางแผนผ่านการสร้างสมมติฐานที่ซับซ้อน
ช่วงอายุ12ปี
●สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการคำนวณตัวเลขมาใช้ทำความเข้าใจเรื่องราวในชีวิตจริง
●คิดวิเคราะห์เพื่อวางแผน และตัดสินใจแก้ปัญหาผ่านข้อมูลที่รอบด้านและหลากหลายมากขึ้น
4.Kohlberg’s Moral Development : Lawrence Kohlberg
พัฒนาการด้านจริยธรรม หมายถึง ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความถูกผิดที่เกิดจากกระบวนการคิดอย่างมีเหตุผลควบคู่ไปกับวุฒิภาวะทางปัญญา
6ขั้น
ขั้นที่ 1 (2 – 7 ปี)
เด็กยังไม่เข้าใจถึงสาเหตุและความเป็นมาของกฎระเบียบ
เด็กจะทำตามคำสั่งเพราะกลัวการถูกลงโทษ จะยึดผลที่เกิดกับตนเองเป็นตัวกำหนดว่าสิ่งใดดีหรือไม่ดี
ขั้นที่ 2 (7 – 10 ปี)
เด็กเชื่อฟังและให้ความร่วมมือ ปฏิบัติตามคำสั่ง เพราะคาดหวังรางวัลและคำชม
เด็กยังไม่เรียนรู้และมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อผู้อื่น
ขั้นที่ 3 (10 – 13 ปี)
เด็กยังไม่เข้าใจถึงความสำคัญของการเชื่อฟังและทำตามกฎระเบียบ
เด็กใช้ความคาดหวังของผู้อื่นในการพิจารณาและปรับปรุงตนเอง
ขั้นที่ 4 (13 – 16 ปี)
เริ่มเข้าใจและแสดงพฤติกรรมที่ดีเพราะรู้ว่าเป็น “หน้าที่”
ต้องการสร้างความประทับใจผู้อื่น
ขั้นที่ 5 (17 ปีขึ้นไป)
วัยรุ่นเริ่มเข้าใจความสำคัญของกฎระเบียบที่มีต่อการดำรงอยู่ของความเรียบร้อยในสังคม
ยึดประโยชน์ของสังคมมากกว่าตนเอง ทำดีเพราะมีความเมตตา นึกถึงจิตใจผู้อื่น
ขั้นที่ 6 (ผู้ใหญ่ แต่ไม่ใช่ทุกคน)
มีคุณธรรมประจำใจ
-ให้ความสำคัญกับความยุติธรรมและเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
5.Individual Psychology : Alfred Adler
โครงสร้างบุคลิกภาพ
ลำดับการเกิด
-ลูกคนโต พ่อแม่สนใจและตั้งใจเลี้ยงมากเครียดง่าย ขี้กังวล อาจนิยมความสมบูรณ์แบบ
-ลูกคนกลาง ลูกคนรองจะมีการปรับตัวได้ดีกว่าลูกคนโตและลูกคนเล็ก
-ลูกคนเล็ก มักจะได้รับการเอาใจใส่จากพ่อแม่และพี่ ๆ
-ลูกคนเดียว พ่อแม่รักลูกมากเพราะมีคนเดียว จึงอาจตามใจมากเกินไปหรือเข้มงวดจากความเป็นห่วงมากเกินไป
ประสบการณ์ในวัยเด็ก
-การอบรมเลี้ยงดูในระยะ 5 ปี แรกของชีวิตเป็นระยะที่สำคัญที่สุดต่อการพัฒนาบุคลิกภาพ
ปมเด่น - ปมด้อย
-มนุษย์ทุกคนมีจุดอ่อน (กาย สังคม อารมณ์)
6.Humanism Theories :
Abraham Maslow and Carl Rogers
ความต้องการตระหนักในคุณค่าของตนเอง การค้นพบตนเอง
ความต้องการความสวยงาม ความเป็นระเบียบ
ความต้องการความรู้ ข้อมูลข่าวสาร
ความต้องการการมีชื่อเสียง ได้รับการยอมรับ
ความต้องการความรักและการเป็นเจ้าของ
ความต้องการความปลอดภัย ความมั่นคงในชีวิต
ความต้องการทางร่างกาย ความสมดุลของร่างกาย
นางสาวผจงจิตต์ บุญสิริวิวัฒน์
รหัสนักศึกษา 64B44640414