Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
หลักการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma life support)
ระบบการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma care system)
การดูแลในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล (Prehospital care) การจัดให้มีการดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ โดยต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของ
สิ่งแวดล้อมเป็นอันดับแรก (scene safety)
การดูแลในระยะที่อยู่โรงพยาบาล (Hospital care) ตั้งแต่การ
คัดแยก ระบบทางด่วนฉุกเฉิน การวินิจฉัย การรักษาตามความเร่งด่วน รวมถึงการดูแลในหอผู้ป่วยวิกฤต หอผู้ป่วย การฟื้นฟู ซึ่งทุกขั้นตอนจะต้องกระทำถูกต้องตามหลักวิชาชีพและมีประสิทธิภาพ
การเข้าถึงหรือรับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น (Access) การเข้าถึงช่องทางสำหรับการติดต่อ ประชาชนทุกระดับการศึกษา ทุกพื้นที่ต้องสามารถเข้าถึงระบบหรือช;องทางนี้ได้
การฟื้นฟูสภาพ และการส่งต่อ (Rehabilitation & transfer) การดูแลต่อเนื่อง ต้องได้รับการฟื้นฟูภายหลังจากการได้รับการรักษาในโรงพยาบาล
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น ประกอบด้วย
Resuscitation
Secondary survey
การประเมินผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น (Primary Survey)
Definitive care
Breathing and Ventilation
เป็นการประเมิน การช่วยหายใจและการระบายอากาศเพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนอากาศ เพื่อให้ได้ออกซิเจนและขับคาร์บอนไดออกไซด์
การเปิดดูร่องรอยบาดแผลที่บริเวณทรวงอก
ดูการเคลื่อนไหวบริเวณทรวงอก
คลำการเคาะเพื่อตรวจหาการบาดเจ็บ
ฟัง Breath sound ทั้งสองข้าง
Disability: Neurologic Status
เป็นการประเมินระบบประสาทต่อว่าสมองหรือไขสันหลังได้รับบาดเจ็บหรือไม่ หลังจากดูแลผู้ป่วย Airway, Breathing, Circulation ที่อาจเป็นอันตรายต่อชีวิต (Life threatening injury)
การประเมินผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น (Primary Survey)
Airway maintenance with cervical spine protection เพื่อหาอาการที่เกิดจากทางเดินหายใจอุดกั้น
วิธีการเปิดทางเดินหายใจแบบ jaw-thrust maneuver
ผู้ช่วยฟื้นคืนชีพอยู่เหนือศีรษะผู้ป่วย
ใช้มือสองข้างจับมุมขากรรไกรล่างทั้งสองข้าง
ดึงขากรรไกรล่างแล้วยกขึ้นพร้อมกับดันไปข้างหน้าพร้อมกับดันศีรษะให้หงายไปข้างหลัง (jaw-thrust maneuver with Head-tilt)
กรณีสงสัยมีการบาดเจ็บบริเวณต้นคอ ให้ดึงขากรรไกรล่างแล้วยกขึ้นพร้อมกับดันไปข้างหน้าไม่ต้องหงายศีรษะไปข้างหลัง (jaw thrust maneuver without Head-tilt)
วิธีการเปñดทางเดินหายใจแบบ modified jaw-thrust maneuver
ผู้ช;วยฟื้นคืนชีพอยู่เหนือศีรษะผู้ป่วย
ใช้มือสองข้างจับมุมขากรรไกรล่างทั้งสองข้าง
ดึงขากรรไกรล่างแล้วยกขึ้นพร้อมกับดันไปข้างหน้าไม่ต้องหงายศีรษะไปข้างหลัง
ใช้นิ้วหัวแม่มือทั้งข้างกดที่ด้านหน้าของกระดูกขากรรไกลล้างบริเวณใต้มุมปาก
ออกแรงกดให้ปากอ้าออก
วิธีการเปิดทางเดินหายใจแบบ Head-tilt Chin-lift maneuver
ใช้มือข้างหนึ่งกดลงบนหน้าผากผู้ป่วย
ใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางของมืออีกข้างยกกระดูกปลายคางขึ้น
ระวังอย่าให้นิ้วดันส่วนที่เป็นเนื้อใต้คางเพราะจะทำให้ทางเดินหายใจอุดกั้นมากขึ้น
กรณีที่ไม่แน่ใจว่ามีการบาดเจ็บบริเวณต้นคอให้ใช้วิธี jaw-thrust maneuver, modified jaw thrust
วิธีการเปñดทางเดินหายใจแบบ Triple airway maneuver
กรณีไม่มีการบาดเจ็บบริเวณต้นคอ ปฏิบัติตามวิธีการ
Head-tilt
jaw-thrust
open mouth
กรณีสงสัยมีการบาดเจ็บบริเวณต้นคอ ปฏิบัติตามวิธีการ
jaw-thrust
open mouth
ยกเว้นในกรณีฉุกเฉินที่ผู้ป่วยกำลังมีอันตรายแก่ชีวิตให้ปฏิบัติ ตามลำดับคือ 1) Head-tilt 2) jaw-thrust 3) open mouth
Circulation and Hemorrhage control
เป็นการประเมินในระบบไหลเวียนและการห้ามเลือด โดยประเมินจากสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว สีผิว อุณหภูมิ รวมถึงปริมาณเลือดที่ออกจากบาดแผล
ระบบหายใจ
จะพบการหายใจเร็ว และไม่สม่ำเสมอ จาก Acidosis respiration
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระยะแรกปัสสาวะจะลดลงเหลือ 30-50 ml./hr. และ 40 ml./hr. เมื่อเกิดภาวะไตวายปัสสาวะจะออกน้อยกว่า 20 ml./hr.
หัวใจและหลอดเลือด
1.Pulse
จะพบชีพจรเบา เร็ว จากระบบ Sympathetic แต;ระยะท้ายชีพจรจะช้า และไม่สม่ำเสมอเนื่องจากหัวใจจะทำงานลดลง
2.Capillary filling time
จะพบนานกว่า 1-2 วินาที เพื่อทดสอบการไหลเวียนที่หลอดเลือดส่วนปลาย
3.Central venous pressure
เท่ากับ 7-8 cm.H2O
ระบบทางเดินอาหาร
ผู้ป่วยจะกระหายน้ำ น้ำลายน้อยลง ท้องอืด คลื่นไส้อาเจียน ลำไส้บวม และ ไม่ได้ยิน bowel sound
ผิวหนัง
ผู้ป่วยจะมีผิวหนังเย็นชื้น เหงื่อออกมาก cyanosis ยกเว้น septic shock ที่ผิวหนังจะอุ่น สีชมพูในระยะแรก
ภาวะกรดด่างของร่างกาย
ร่างกายจะเกิดการเผาผลาญแบบ anaerobic metabolism จนเกิดภาวะ acidosis metabolic ผู้ป่วยจะมีอาการซึม อ่อนเพลีย งุนงง สับสน ไม่รู้สึกตัว หายใจแบบ Kussmaual
อาการทางระบบประสาท
ประกอบด้วย ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการซึมเชื่องช้า สับสน บางราบมีอาการเอะอะ และสุดท้ายจะหมดสต
การกู้ชีพ (Resuscitation)
การแก้ไขภาวะคุกคามต่อชีวิตหรือที่เป็นอันตรายเร่งด่วน โดยการกู้ชีพจะทำหลังจากการประเมิน เป็นลำดับของ ABC และสามารถทำไปพร้อมๆกับการประเมิน
การประเมินสภาพร่างกายผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บอย่างละเอียด (Secondary Survey)
History
• Allergies ประวัติการแพ้ยา สารเคมีหรือวัตถุต่างๆ
• Medication ยาที่ใช้ในปัจจุบัน
• Past illness/ Pregnancy การเจ็บป่วยในอดีตและการตั้งครรภ์
• Last meal เวลาที่รับประทานอาหารครั้งล่าสุด
• Event/ Environment related to injury อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้อย่างไร
Blunt trauma
ส่วนใหญ่เกิดจากอุบัติเหตุจราจร พลัดตกจากที่สูง
Penetrating trauma
เกิดจากอาวุธป็น มีด ปัจจัยที่กำหนดชนิดและความรุนแรงของการบาดเจ็บ
Physical Examination
1.Head 2.Facial 3.Cervical spine and Neck 4.Chest 5.Abdomen 6. Musculoskeletal and Peripheral vascular assessment 7.Pelvic fracture 8.Neurological system 9. Re-evaluation
ก
ารรักษาผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บภายหลังได้รับการช่วยเหลือขั้นต้นแล้ว (Definitive Care)
เป็นการรักษาอย่างจริงจังหลังจากได้ทำ secondary survey เรียบร้อยแล้ว เพื่อแก้ไขพยาธิสภาพ โดยตรง เป็นการรักษาจำพาะของการบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ