Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
06.00 น. หญิงไทยคู่ อายุ 35 ปี G3P2 No ANC มีอาชีพเปิดร้านขายอาหารและรับจั…
06.00 น. หญิงไทยคู่ อายุ 35 ปี G3P2 No ANC มีอาชีพเปิดร้านขายอาหารและรับจัดเลี้ยง มาโรงพยาบาลด้วยรู้สึกเด็กดิ้นน้อยลงมา 1 วัน ให้ประวัติจำประจำเดือนครั้งสุดท้ายไม่ได้ ตรวจร่างกายแรกรับ Vital sign T= 37.4OC P= 90 bpm R=22 bpm BP 130/85 mmHg FHR 100 bpm HF ¾ > umbillicus 36 cm. PV cervix 2 cm 70% MI station 0 แพทย์ประเมินคะแนน Bishop ได้ 7 คะแนน
ผู้คลอดมีภาวะซีดเล็กน้อย วิตกกังวล ผล USG มีปริมาณน้ำคร่ำ AFI = 5 cm placental grade 3 มี
calcification NST ครั้งที่ 1 เป็น CAT 2 repeat NST ผล CAT 1
06.30 น. พิจารณา induction ด้วย Oxytocin
08.30 น. เริ่มเจ็บครรภ์ถี่ ทำการเจาะถุงน้ำพบน้ำคร่ำมีขี้เทาเขียวข้นปนน้ำคร่ำ (thick meconium
stained)
08.35 น. เจาะเลือดส่งตรวจ CBC Pletelet count PT PTT Electrolyte และให้สารน้ำเป็น Ringer’s lactate solution และ continuous EFM 25 นาที ต่อมา FHR 88 bpm ปากมดลูกไม่เปิดเพิ่ม แพทย์พิจารณาผ่าตัดคลอด
09.05 น. ทารกคลอดเพศชาย น้ำหนัก 4,000 กรัม มีผิวค่อนข้างเหี่ยว ผมและเล็บยาว ชีพจร 110 bpm ไม่ค่อยร้อง ปลายมือปลายเท้าเขียว เคลื่อนไหวขยับแขนขาได้ แสดงสีหน้าขณะดูดเสมหะในปากและจมูก เสมหะมีลักษณะสีเหลืองปนเขียว ข้นและเหนียวมาก กุมารแพทย์ใช้สายยาง suction หลายครั้ง ทารกยังหายใจไม่ดี Respiration rate 120 bpm ย้ายสังเกตอาการ NICU และรับการรักษา 1 เดือน
- จงบอกความเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์และคลอดเกินกำหนดของสตรีรายนี้
ด้านมารดา
- เสี่ยงที่จะผ่าคลอดเพราะทารกในครรภ์มีขนาดตัวที่ใหญ่ขึ้น
- ทารกตัวใหญ่ขึ้น ส่งผลให้ช่องคลอดเกิดการฉีกขาด
- มีโอกาสที่จะตกเลือดหลังคลอดได้มากกว่าครรภ์ปกติ
ด้านทารก
-
- ทารกเสี่ยงต่อการสำลักน้ำคร่ำ
-
-
- อาการและอาการแสดงใดที่ช่วยยืนยันว่ามีการตั้งครรภ์เกินกำหนดในสตรีรายนี้จริง
รู้สึกเด็กดิ้นน้อยลงมา 1 วัน ให้ประวัติจำประจำเดือนครั้งสุดท้ายไม่ได้ ตรวจร่างกายแรกรับ Vital sign T= 37.4OC P= 90 bpm R=22 bpm BP 130/85 mmHg FHR 100 bpm HF ¾ > umbillicus 36 cm. PV cervix 2 cm 70% MI station 0 แพทย์ประเมินคะแนน Bishop ได้ 7 คะแนน
ผู้คลอดมีภาวะซีดเล็กน้อย วิตกกังวล ผล USG มีปริมาณน้ำคร่ำ AFI = 5 cm placental grade 3 มี
calcification NST ครั้งที่ 1 เป็น CAT 2 repeat NST ผล CAT 1
-
09.05 น. ทารกคลอดเพศชาย น้ำหนัก 4,000 กรัม มีผิวค่อนข้างเหี่ยว ผมและเล็บยาว ชีพจร 110 bpm ไม่ค่อยร้อง ปลายมือปลายเท้าเขียว เคลื่อนไหวขยับแขนขาได้ แสดงสีหน้าขณะดูดเสมหะในปากและจมูก เสมหะมีลักษณะสีเหลืองปนเขียว ข้นและเหนียวมาก
- ในความคิดเห็นของท่าน การรักษาดูแลรักษาสตรีตั้งครรภ์รายนี้ มีความเหมาะสมกับอาการและอาการ
แสดงหรือไม่ จงอธิบาย
เหมาะสม เพราะ HF ¾ > umbillicus 36 cm. PV cervix 2 cm 70% MI station 0 แพทย์ประเมินคะแนน Bishop
ได้ 7 คะแนน
- มีความเสี่ยงใดบ้างที่อาจเกิดขึ้นกับมารดารายนี้
- เสี่ยงที่จะผ่าคลอดเพราะทารกในครรภ์มีขนาดตัวที่ใหญ่ขึ้น หัวโตขึ้นทำให้คลอดยาก ทำให้คุณแม่ต้องเสี่ยงผ่าตัดคลอด ต้องใช้เครื่องดูดสุญญากาศช่วยในการคลอด หรือต้องใช้คีมช่วยในการคลอด
- ทารกตัวใหญ่ขึ้นส่งผลให้ช่องคลอดฉีกขาดในขณะคลอด
- มีโอกาสที่จะตกเลือดหลังคลอดมากกว่าครรภ์ปกติ เนื่องจากมดลูกหดตัวไม่ดีเกิดจากมีบาดแผลบริเวณช่องคลอด
- ท่านจะให้คำแนะนำหรือดูแลด้าน Psychological แก่มารดารายนี้อย่างไร
- อธิบายให้ความรู้คำเเนะนำถึงอาการหรือการหายของเด็กที่คลอดเกินกำหนดกับมารดา
- ให้กำลังใจรับฟังให้มารดาได้ระบายความรู้สึก
- จงบอกความเสี่ยง 3 อันดับแรกของทารกที่คลอดจากสตรีรายนี้
-
- ทารกเสี่ยงต่อการสำลักน้ำคร่ำ
-
-
-