Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเมืองการปกครอง - Coggle Diagram
การเมืองการปกครอง
1.อำนาจอธิปไตย หมายถึง อำนาจสูงสุงที่ใช้บริหารประเทศ
1.1 การใช้อำนาจอธิปไตย
1.อำนาจบัญญัติ เป็นอำนาจในตรากฎหมายที่ใช้กับประชาชน รวมทั้งควบคุมและตรวจสอบหน้าที่ของฝ่ายบริหาร
2.อำนาจบริหาร เป็นอำนาจในการบริหารและปกครองประเทศ องค์กรนี้คณะรัฐมนตรีประกอบไปด้วย นายกรัฐมนตรี 1 คน และรัฐมนตรีอื่นอีกจำนวนไม่เกิน 35 คน
3.อำนาจตุลาการ เป็นอำนาจในการพิจารณาและพิพากษาคดีความต่างๆที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากข้อพิพาทระหว่างรัฐกับรัฐ
1.2 การถ่วงดุลอำนาจอธิปไตย
3.การถ่วงดุลอำนาจระหว่างอำนาจตุลาการกับอำนาจนิติบัญญัติและอำนาจบริหาร การถ่วงดุลอำนาจนั้นเห็นได้จากอำนาจหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง และศาลยุติธรรม
2.การถ่วงดุลอำนาจของสภาผู้แทนราษฎรฝ่ายบริหาร คณะรัฐมนตรีสามารถถ่วงดุลอำนาจของผู้แทนราษฎรได้โดยการยุบสภาผู้แทนราษฎร
1.การถ่วงดุลอำนาจนิติบัญญัติ เช่น 1) การเลือกหัวหน้าฝ่ายบริหาร 2) การอภิปรายไม่วางใจฝ่ายบริหาร 3) การตั้งกระทู้ถามฝ่าบริหาร
3.การปฏิบัติตกตามรัฐธรรมนูญ
3.1สิทธิและเสรีภาพของตนเองตามรัฐธรรมนูญ
1.สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย
2.สิทธิในการบวนการยุติธรรม
3.สิทธิที่จะไม่ถูกเกณฑ์เเรงงาน
4.สิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว เกียรติยศ ชื่อเสียง ครอบครัว
5.สิทธิในทรัพย์สินและการสืบมรดก
6.สิทธิในการรวมกันจัดตั้งองค์กรของผู้บริโภค
8.สิทธิของมารดา ผู้ที่มีอายุเกิน 60ปี และผู้ยากไร้
7.สิทธิในการได้รับบริการสาธารณะสุข
9.เสรีภาพในการนับถือศาสนา
10.เสรีภาพในเคหสถาน
11.เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
12.เสรีภาพทางวิชาการ
13.เสรีภาพในการติดต่อสื่อสาร
14.เสรีภาพในการเดินทางและเลือกถื่นฐานที่อยู่
15.เสรีภาพในการประกอบอาชีพ
16.เสรีภาพในการรวมตัวกัน
17.เสรีภาพในการชุมนุมอย่างสงบและปราศจากอาวุธ
18.เสรีภาพในการจัดตั้งพรรคการเมือง
19.สิทธิของบุคคลและชุมชน
20.เสรีภาพของผู้ประกอบวิชาชีพสื่อมวลชน
21.การใช้สิทธิและเสรีภาพล้มล้างการปกครอง
2.รัฐธรรมนูญ คือกฎหมายที่บอกลักษณะหรือรูปแบบการบริหารประเทศว่าเป็นอย่างไร ใครเป็นผู้มีอำนาจสูงสุด
2.1 หลักการและเจตนารมณ์
1.จัดระเบียบและสร้างความเข้มแข็งแก่การปกครองประเทศขึ้นใหม่
2.เพิ่มประสิทธิภาพของศาลและองค์กรอิสระ
3.มุ่งคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิและเสรีภาพของประชาชน
4.กำหนดให้รัฐมีหน้าที่ต่อประชาชน
6.วางแนวทางแก้ไขวิกฤตการณ์ของประเทศ
5.ขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบ
7.สร้างกลไกปฏิรูปประเทศและลดความขัดแย้ง
2.2 โครงสร้างและสาระสำคัญ มีโครงสร้างแบ่งเป็น16หมวดและบทเฉพาะกาล รวมทั้งหมด 276 มาตรา ได้แก่
หมวด16หมวด ได้แก่
หมวด 1 บททั่วไป หมวด 2 พระมหากษัตริย์ หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย หมวด 4 หน้าที่ของปวงชนชาวไทย หมวด 5 หน้าที่ของรัฐ หมวดที่ 6 แนวนโยบายแห่งรัฐ หมวด 7 รัฐสภา หมวด 8 คณะรัฐมนตรี หมวด 9 การขัดกันแก่งผลประโยชน์ หมวด 10 ศาล หมวด 11 ศาลรัฐธรรมนูญ หมวด 12.องค์กรอิสระ หมวด 13 องค์กรอัยการ หมวด 14 การปกครองส่วนทิ้องถิ่น หมวด 15 การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ หมวด 16 การปฏิรูปประเทศบทเฉพาะการ
สาระสำคัญ ได้แก่
4.รัฐสภา
6.ศาล
8.การถ่วงดุลอำนาจทางการเมือง
3.อำนาจอธิปไตย
10.หน้าที่ของรัฐ
5.คณะรัฐมนตรี
11.องค์กรอิสระ
2.ประมุขของประเทศ
12.การปกครองส่วนท้องถิ่น
7.ความเสมอภาค สิทธิ์ และเสรีภาพของประชาชน
9.หน้าที่ของปวงชนชาวไทย
1.ระบอบการปกครอง
13.การปฏิรูปประเทศ