Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
osteoporosis (โรคกระดูกพรุน) - Coggle Diagram
osteoporosis (โรคกระดูกพรุน)
ชนิดของภาวะกระดูกพรุน
มี 2 ชนิด
1.Primary Osteoparosis
คือกระดูกพรุนที่เกิดขึ้นเอง
Type I = Post menopausal osteoporosis
Type II = Senile ( Involutional ) osteoporosis
2. Secondary Osteoparosis คือกระดูกพรุนที่เกิดตามหลังภาวะอื่นๆ
Steroid induce
immobilization
chronic disease
กระดูกพรุน
เป็นภาวะที่กระดูกมีมวลกระดูกลดน้อยลงและโครงสร้างของกระดูกเปลี่ยนแปลงทำให้กระดูกอ่อนแอหักง่ายและเพิ่มเสี่ยงต่อการหักของกระดูกในตำแหน่งต่างๆตาม อายุ เพศ เชื้อชาติ ในภาวะนี้พบว่าอผนังกระดูกบางลงกว่าปกติ เนื้อกระดูกพรุนและโปร่งกว่าปกติ แต่โครงสร้างภายในของกระดูกเป็นเนื้อกระดูกที่มีภาวะ mineralization ปกติ
กลไกการเกิดโรคกระดูกพรุน
กระดูกประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก
1.เซลล์มี 3 ชนิด
1.1 Osteocyte เป็นเซลล์กระดูกตัวแก่ที่เป็นโครงสร้างของกระดูก
1.2 Osteoblast มีหน้าที่ในการสร้างเนื้อกระดูกและกลายเป็น osteocyte มีการหลั่งสารชนิดต่างๆ ได้แก่ collagen type I, osteocalcin, alkaline phosphatase
1.3 Osteoclast มีหน้าที่สลายกระดูกไปพร้อมๆกัน การสร้างกระดูกโดย osteoblast ใน
ขบวนการนี้จะมีการหลั่งสารชนิดต่างๆ ได้แก่ calcium hydroxyproline, pyridium cross-links
organic matrix เป็นเนื้อเยื่ออินทรีย์ที่เป็นที่อยู่ของเซลล์ชนิดต่างๆ
mineral matrix เป็นเนื้อเยื่อที่มีแร่ธาตุต่างๆมาสะสมเพื่อให้ความแข็งแรงกับตัวกระดูก
อาการของโรคกระดูกพรุน
ผู้ป่วยโรคกระดูกพรุนมักจะทราบว่าตนป่วยเมื่อมีอาการแสดงไปแล้วและยังมีอาการบ่งชี้อื่น ๆ ที่ควรใส่ใจสังเกต เพื่อให้สามารถรักษาได้ทันการณ์ ดังนี้
กระดูกข้อมือ แขน สะโพกและกระดูกสันหลังแตกหักได้ง่าย แม้ถูกกระเเทกแบบไม่รุนเเรง
หลังค่อมหรือกระดูกสันหลังส่วนบนโค้งลง
ความสูงลดลง
อาจมีอาการปวดหลังเรื้อรังด้วย
สาเหตุของโรคกระดูกพรุน
อายุ
ฮอร์โมน
กรรมพันธุ์
ความผิดปกติในการทำงานของต่อมและอวัยวะต่างๆ
โรคและการเจ็บป่วย
พฤติกรรมการบริโภค
พฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวัน
การใช้ยาบางชนิด
การรักษา
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมกับการรักษาพื้นฐาน
การได้รับธาตุแคลเซียมและวิตามินดีที่เพียงพอ
การออกกำลังกายที่ลงน้ำหนักและเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
การออกกำลังกายที่ลงน้ำหนัก (weight-bearing)
การออกกำลังกายเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ(muscle-strengthening exercise)
การหยุดสูบบุหรี่ การหยุดดื่มแอลกอฮอล์
การลดปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะหกล้ม
การป้องกันภาวะทุพโภชนาการเนื่องจากภาวะขาดอาหาร (under-nutrition)
การใช้ยาจำเพาะเพื่อรักษาโรคกระดูกพรุน
ยาที่ยับยั้งการสลายของเนื้อกระดูก (antiresorptive agent)
ฮอร์โมนทดแทน (hormonal replacement therapy)
ยากลุ่ม selective estrogen-receptor modulator (SERM)
calcitonin
ยาในกลุ่ม bisphosphonates
ยากระตุ้นการสร้างเนื้อกระดูก ได้แก่ Parathyroid hormone
การฟื้นฟูบำบัด
ฟื้นฟูความสามารถในการดำเนินกิจวัตรประจำวัน
ป้องกันการหกล้มซ้ำซ้อน
ลดอาการปวดโดยเฉพาะจากภาวะกระดูกหัก
ลดความพิการ