Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์, 1. Acceleration FHR…
บทที่ 2 การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
ระยะคลอด (Intrapartum)
1. Fetal scalp blood sampling
เป็นการเจาะเลือดจากหนังศีรษะทารก เพื่อตรวจหาความเป็นกรดด่างของเลือดทารก
ทำเฉพาะในรายที่ศีรษะเป็นส่วนนำ ปาดมกลูกเปิดและถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
- การแปรผล
:explode: pH ปกติในระยะที่ 1 ของการคลอดอยู่ระหว่าง 7.25-7.45
:explode: pH อยู่ระหว่าง 7.20-7.24
มีภาวะ Pre-acidosis
ควรตรวจซ้ำภายใน 15-20 นาที
:explode: pH ต่ำกว่า
มีภาวะ acidosis ควรช่วยให้การคลอดสิ้นสุดโดยเร็ว
2. ฟังเสียงหัวใจทารกเป็นระยะ
ฟังช่วงที่มีการหดรัดตัวของมดลูกต่อเนื่องไปจนถึงช่วงที่มดลูกคลายตัว
3. การประเมินโดยใช้ EFM (electronic fetal monitor)
ระยะก่อนคลอด (Antepartum)
Biochemical assessment
การตรวจหาระดับ estriol ในปัสสาวะ (Urine estriol)
ต่อมหมวกไตของทารกในครรภ์ ทำหน้าที่หลั่งสารสำหรับกระตุ้นการสร้าง H. estriol
ค่า Urine estriol จะเพิ่มขึ้นตามอายุครรภ์
ควรตรวจหาระดับ estriol ในรายที่มีภาวะเสี่ยงสูง ได้แก่ สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเบาหวาน (ควรตรวจทุกวัน) ความดันโลหิตสูง อายุครรภ์เกินกำหนด
เริ่มตรวจเมื่อ GA = 28 wks. และตรวจ 3 ครั้ง/สัปดาห์ จนกระทั่งอายุครรภ์ครบกำหนด
วิธีการตรวจหาระดับ estriol ในปัสสาวะ
:pencil2: 24 hr. urine = เก็บให้ครบ 24 hr. ในช่วงเวลาเดียวกัน โดยให้สตรีตั้งครรภ์ปัสสาวะทิ้งก่อน 1 ครั้ง
แล้วเริ่มเก็บจนครบ 24 hr.
:pencil2: E/C ratio = เก็บปัสสาวะเมื่อใดก็ได้
บ่งบอกถึงภาวการณ์มีชีวิตของทารกในครรภ์และการทำหน้าที่ของรก
การตรวจเลือดของสตรีตั้งครรภ์ (Maternal blood study)
ตรวจหาระดับ ฮอร์โมน hPL
ระดับ hPL จะเพิ่มขึ้นตาม GA จนถึง GA 36-37 wks. และจะลดลงอย่างรวดเร็วเมื่อรกคลอด
:explode: เมื่ออายุครรภ์ใกล้ครบกำหนด ระดับ hPL จะมีค่าประมาณ 5.4-7.0 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร
:explode: ถ้าระดับ hPL ต่ำกว่า 4 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร แสดงว่า ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะอันตราย
ระดับ hPL ที่สูงกว่าปกติ: พบได้ในสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวาน ทารกตัวโตและรกมีขนาดใหญ่
ครรภ์แฝด หรือมีภาวะ erythroblastosis
ตรวจหา MSAFP
เพื่อประเมินความพิการแต่กำเนิด และความผิดปกติของโครโมโซมทารก โดยเฉพาะภาวะ
neural tube defects (NTD)
ตรวจพบได้เมื่อ GA 7 wks.
เพิ่มสูงขึ้นอย่างช้าๆ ในไตรมาสที่ 2
สูงสุดในระยะต้นไตรมาสที่ 3
ระยะเวลาที่เหมาะสมในการตรวจ คือ GA 16-18 wks.
การแปรผล
:explode: MSAFP สูงกว่าปกติ
ทารกมี Open neural tube defect
:explode: MSAFP ต่ำกว่าปกติ
สัมพันธ์กับ Down's syndrome และ Edward' s syndrome
:explode: MSAFP ที่สูงหรือต่ำกว่าปกติ ควรตรวจซ้ำและทำ ultrasound เพื่อยืนยันอายุครรภ์
ตรวจหา unconjugated estriol ใน plasma
unconjugated estriol ใน plasma น่าเชื่อถือกว่า conjugated ในปัสสาวะ
ค่าปกติของ unconjugated ใน maternal plasma > 9%
การแปรผล
:explode: unconjugated estriol ใน plasma ที่สูง
สตรีตั้งครรภ์มีภาวะเบาหวาน ครรภ์แผด หรือไตทำหน้าที่บกพร่อง
:explode: unconjugated estriol ใน plasma ที่ต่ำ
สัมพันธ์กับ Down's syndrome และ Edward' s syndrome
การตรวจตัวอย่างเลือดทารก (Fetal blood sampling)
เป็นการเจาะเลือดจากสายสะดือทารกผ่านทางหน้าท้องของสตรีตั้งครรภ์
เพื่อวินิจฉัยภาวะผิดปกติที่ถ่านทอดทางพันธุกรรม ได้แก่ Hemophilia , thalassemia , ตรวจโครโมโซม
ช่วยประเมินทารกในรายที่สงสัยว่ามีการติดเชื้อไวรัส เช่น หัดเยอรมัน
การตรวจวิเคราะห์เนื้อรก (Chorionic villus sampling: CVS)
ตรวจในไตรมาสที่ 1 เพื่อประเมินความผิดปกติทางพันธุกรรม และใช้ในการตัดสินใจในการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ตั้งแต่เริ่มแรกโดยการตรวจหาโครโมโซม
การเจาะถุงน้ำคร่ำ (Amniocentesis)
การเจาะน้ำคร่ำทางหน้าท้อง เพื่อดูดน้ำคร่ำ 5-30 ml
ทำในกรณีที่สงสัย neural tube defect และการหาความผิดปกติทาง metabolism
การตรวจวิเคราะห์น้ำคร่ำ (Amniotic fluid analysis)
เพื่อตรวจหา Fetal Lung Maturity : ความพร้อมของปอดทารก
ตรวจหาสารลดแรงตึงผิวในปอด (surfactant)
ภาวะการณ์การมีชีวิตทารก
ความผิดปกติทางพันธุกรรม
1. การตรวจเพื่อประเมิน GA และ Fetal Lung Maturity
การตรวจ L/S ratio
:pencil2: ก่อน GA 26 wks. Shingomyelin > Lecithin
:pencil2: GA 26-34 wks. L/S ratio = 1:1
:pencil2: GA 34-36 wks. Lecithin จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และ Shingomyelin ลดลงเล็กน้อย L/S ratio = 2:1
- การแปรผล
(ค่า L/S ratio สัมพันธ์กับการเกิด RDS )
:explode: ปอดทารกเจริญดี ถ้า L/S ratio ≥ 2
การตรวจ foam stability index หรือ shake test
:pencil2: ถ้า lung surfactant มากพอ
แรงตึงผิวระหว่างอากาศกับของเหลวต่ำ
ฟองอากาศคงอยู่นาน
วิธีการทำ = ทดสอบโดยการใช้หลอดทดลอง 2 หลอด พร้อมทั้งเขย่าทั้งสองหลอดนาน 15 วินาที แล้วตั้งทิ้งไว้ 15 นาที
:pencil2: หลอดที่ 1 : น้ำคร่ำ 1 ml + ethanol 95% 1 ml.
:pencil2: หลอดที่ 2 : น้ำคร่ำ 0.5 ml + 0.9%NSS 0.5 ml + ethanol 95% 1 ml.
- การแปรผล
:explode: มีฟองรอบผิวทั้ง 2 หลอด
positive
ทารกมีโอากาสเกิดภาวะ RDS น้อย
:explode: พบฟองอากาศเฉพาะหลอดที่ 1
Intermediate positive
:explode: ไม่เกิดฟองอากาศในหลอดที่ 1
Negative
ปอดทารกยังไม่สมบูรณ์
การตรวจหาระดับ Creatinine
:pencil2: ตรวจในช่วงครึ่งหลังของการตั้งครรภ์ เพราะค่าจะเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ เนื่องจากไตของทารกเจริยเติบโตเต็มที่สามารถขับ Creatinine ออกมามากขึ้น
การแปรผล
:explode: Creatinine ≥ 2 mg/ 100 ml
ทารกในครรภ์เจริญเติบโตเต็มที่แล้ว
การตรวจ Nile blue test
:pencil2: ตรวจหาเซลล์ไขมันที่หลุดจากผิวหนังและต่อมไขมันของทารก จะมีปริมาณที่เพิ่มขึ้นในน้ำคร่ำตามอายุครรภ์
การแปรผล
(โดยการดูการย้อมเซลล์ติดสี)
:explode: เซลล์ติดสีส้มเป็นเซลล์ไขมัน
ติดสีส้ม > ร้อยละ 30 = GA มากกว่า 36 wks.
ติดสีส้ม > ร้อยละ 50 = อายุครรภ์ครบกำหนด
:explode: เซลล์ติดสีฟ้าเป็นไม่ใช่เซลล์ไขมัน
2. การตรวจเพื่อประเมินภาวะการณ์มีชีวิตของทารกในครรภ์
การตรวจดูสีของน้ำคร่ำ ปกติจะมีลักษณะใส สีเหลืองอ่อนคล้ายฟางข้าว
:pencil2: ถ้าอายุครรภ์ใกล้ครบกำหนด
น้ำคร่ำจะขุ่นขึ้น เนื่องจากมีไขมันปนออกมาด้วย
:pencil2: ถ้าในภาวะขาดออกซิเจน
น้ำคร่ำจะมีสีเขียว หรือสีเหลืองน้ำตาล
การตรวจระดับ bilirubin
ความเข้มข้นจะลดลงเรื่อยๆ เมื่อ GA มากขึ้น
3. การตรวจหาความผิดปกติทางพันธุกรรม
(ทำระหว่าง GA 14-18 wks. หรือทำให้เร็วที่สุด เพราะถ้าพบความผิดปกติจะได้พิจารณาทำแท้งรักษาก่อน GA 24 wks. )
การตรวจหาระดับ Alpha fetoprotein (AFP) สูงสุดในช่วง wks. ที่ 13 จากนั้นจะค่อยลดลง
:explode: ถ้า AFP ในน้ำคร่ำสูง
อาจมี neural tube defects
การเพาะเลี้ยงเซลล์และตรวจ Karyotyping เพื่อดูความผิดปกติของโครโมโซม
:explode: ที่พบบ่อย คือ Down's syndrome
Biophysical assessment
1. การตรวจครรภ์
โดยดูขนาดหน้าท้อง ระดับยอดมดลูก การคลำขนาดของทารก เป็นต้น
2. Fetal movement counting (FMC)
นับการดิ้นของทารกช่วง GA 28-32 wks.
:explode: ถ้าทารกดิ้นแรงและดิ้นมากขึ้นอย่างทันทีทันใด
เกิดภาวะ Fetal distress
สายสะดือถูกกด หรือลกรอกตัวก่อนกำหนด
:explode: ถ้าทารกดิ้นน้อยลง
เกิดภาวะ Chronic fetal distress
ภาวะแทรกซ้อนของมารดา
:explode: MAS (movement alarm signal)
image
fetal distress อย่างรุนแรง
image
ทารกดิ้นน้อยลงจนกระทั่งหยุดดิ้น ในขณะที่ยังฟังเสียงหัวใจของทารกได้
3. non-stress test (NST)
เริ่มทำเมื่อ GA 32-34 wks. แต่ในรายที่มีภาวะแทรกซ้อนการตั้งครรภ์ที่รุนแรงให้เริ่มเมื่อ GA 26-28 wks.
ประเมินการตอบสนอง Fetal heart rate โดยอาศัยหลักการการเพิ่มขึ้นของ FHR เมื่อทารกมีการเคลื่อนไหว
:pencil2: จัดให้สตรีตั้งครรภ์นอนในท่า Semi- Fowler หรือนอนตะแคงซ้าย
:pencil2: ตรวจครรภ์คะเนตำแหน่ง FHS
:pencil2: ทาgel วางtransducerตำแหน่งที่ได้ยินเสียงFHS รัดเข็มขัด
:pencil2: จากนั้น on electronic fetal monitor (EFM) 20 วินาที
:pencil2: จากนั้นให้แม่กดปุ่มเมื่อรู้สึกว่าเด็กดิ้น
- การแปรผล
:explode: ผลการตรวจปกติ
reactive
พบ FHR acceleration อย่างน้อย 2 ครั้ง ในระยะเวลา 20 นาที
:explode: ผลการตรวจผิดปกติ
non-reactive
4. Contraction stress test (CST)
ทดสอบการไหลเวียนเลือดในมดลูกและรก เริ่มทำเมื่อ GA 32-34 wks.
- วิธีการตรวจ
:pencil2: การทดสอบ Oxytocin challenge test
ให้ Oxytocin 5 unit ในน้ำเกลือ 500 ml IV rate 0.5 ml/min แล้วเพิ่มทุก 20 นาที จนมดลูกหดรัดตัว 3 ครั้งใน 10 นาที ใช้เวลานานประมาณ 90 นาที
:pencil2: Nipple stimulation
มารดาใช้นิ้วมือลูบหัวนมข้างใดข้างหนึ่งผ่านเสื้อนาน 2 นาที จนกว่าจะเกิดการหดรัดตัวของมดลูก
- การแปรผล
:explode: ผลการตรวจปกติ
negative
ไม่พบ Late deceleration
ทารกมีสุขภาพดี 1 wk
:explode: ผลการตรวจผิดปกติ
positive
พบ Late deceleration ≥ ร้อยละ 50 ของการหดรัดตัวของมดลูก
ทารกมีภาวะ Hypoxia
5. Fetal vibroacoustic stimulation test (FAST)
การใช้กล่องเสียงเทียมกระตุ้นบริเวณตำแหน่งศีรษะทารกในครรภ์ หลังจากได้ผล non-reactive NST เพื่อกระตุ้นทารกในครรภ์
- การแปรผล
:explode: ผลการตรวจปกติ
reactive
:explode: ผลการตรวจผิดปกติ
non-reactive
6. ฺBiophysical profile (BPP)
ทดสอบโดยการตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง เพื่อตรวจดูตัวแปรต่างๆ 5 ตัวแปร ใช้เวลาประมาณ 30-60 นาที
- การแปรผล
(คะแนนรวมทั้งหมด 10 คะแนน)
:explode: 0-2 คะแนน
ทารกมีภาวะขาดออกซิเจน
ผิดปกติ ยุติการตั้งครรภ์โดยการให้คลอด
:explode: 4-6 คะแนน
เสี่ยงภาวะขาดออกซิเจน ติดตามใกล้ชิด
:explode: 8-10 คะแนน
ปกติ ติดตามอีก1 wk
7. modified Biophysical profile (FBPP)
การตรวจ NST ร่วมกับการวัดปริมาณน้ำคร่ำ (AFI)
- การแปรผล
:explode: ผลการตรวจปกติ
NST reactive , AFI ลึกมากกว่า 2 ซม.
:explode: ผลการตรวจผิดปกติ
NST non-reactive , AFI ลึกน้อยกว่า 2 ซม.
8. Ultrasound (U/S)
วัตถุประสงค์ในการตรวจ
:pencil2: คำนวณ GA
:pencil2: ตรวจความผิดปกติ/พิการของทารก
9. Dopler ultrasound (U/S)
วัตถุประสงค์ในการตรวจ
:pencil2: ใช้ในการตรวจการไหลเวียนเลือดในเส้นเลือดที่สายสะดือ (Umbilical artery)
:pencil2: ใช้ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
ทารกที่มีน้ำหนักตัวน้อย , ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
1. Acceleration
FHR เพิ่มทันทีทันใด จากเริ่มต้นถึงสูงสุด < 30 วินาที
GA > 32 wks
FHR ≥ 15 bpm จากเริ่มจนจบอยู่นาน > 15 วินาที แต่ < 2 วินาที
GA < 32 wks
FHR ≥ 10 bpm จากเริ่มจนจบอยู่นาน > 10 วินาที แต่ < 2 วินาที
ถ้าอยู่นาน > 2 วินาที - < 10 วินาที
prolonged acceleration
ถ้านาน > 10 วินาที
baseline change
2. Early Deceleration
ลดลงกว่า baseline > 15 bpm จากเริ่มจนต่ำสุด ≥ 30 วินาที
ส่วนใหญ่เกิดในช่วงที่มีการเปิดของปากมดลูก 4-7 ซม.
เป็นการตอบสนองตามปกติของทารก ไม่ถือเป็นพยาธิสภาพ
3. Late Deceleration
ลดลง > 15 bpm แล้วกลับคืนแบบค่อยเป็นค่อยไป (จากเริ่มต้นถึงต่ำสุด > 30”) เป็น U shape
สัมพันธ์กับ Uteroplacental insufficiency
สาเหตุจาก
BPต่ำ, มดลูกหดรัดตัวถี่, รกเสื่อม, รกลอกตัวก่อนกำหนด
4. Variable Deceleration
FHR ลดลงอย่างรวดเร็ว > 15bpm (จากเริ่มถึงต่ำสุด < 30 วินาที) แล้วกลับคืนเร็ว รูปร่างเป็น V shape
สัมพันธ์กับสายสะดือถูกกด (cord compression
สาเหตุจาก
น้ำคร่ำน้อย, สายสะดือพันคอ, สายสะดือย้อย
5. Prolonged Deceleration
FHR ลดลง > 15 bpm เป็นเวลา > 2 วินาที แต่ < 10 วินาที
6. Sinusoidal
FHR เป็นคลื่นเรียบสม่ำเสมอ 3-5 ลูก/นาที คงอยู่นาน ≥ 20 วินาที
สาเหตุจาก
ภาวะขาดออกวิเจน ทารกในครรภ์ซีด หรือยาบางอย่าง เป็นต้น