Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สังคมชมพูทวีป - Coggle Diagram
สังคมชมพูทวีป
ด้านลัทธิความเชื่อ
คนในสังคมอินเดียสมัยพุทธกาลจะนับถือเทพเจ้าที่อยู่ในศาสนาพราหมณ์ ความเชื่อและแนวทางปฏิบัติจึงอยู่บนพื้นฐานของคำสอนทางศาสนาพราหมณ์ดังนี้
เชื่อในเรื่องการล้างบาป อินเดียในสมัยชมพูทวีปเชื่อถือเรื่องการล้างบาป โดยเฉพาะในแม่น้ำคงคา ซึ่งถือว่าเป็นแม่น้ำศักดิ์สิทธิ์ที่ไหลมาจากสวรรค์คือภูเขาหิมาลัย เมื่อได้ดื่มหรืออาบจะได้บุญมาก ความชั่วที่ทำไว้ทั้งหมดจะถูกลอยไปกับสายน้ำกลายเป็นผู้บริสุทธิ์ทั้งกายและ ใจ เมื่อมีพระพุทธเจ้าความเชื่อเหล่านี้ก็จางไป เพราะพระองค์ตรัสว่าการล้างบาปวิธีนี้ ล้างได้แต่กายไม่ได้ล้างใจด้วย
-
-
ด้านการเมือง
ชมพูทวีป หมายถึงประเทศอินเดียในปัจจุบัน สมัยพุทธกาลมีชนชาติมิลักขะเป็นเจ้าถิ่นเดิม ต่อมาได้ถูกชนชาติอริยกะเข้าปกครอง มีการแบ่งเป็นแว่นแคว้นต่าง ๆ แต่ละแคว้นเรียกว่า ชนบท เฉพาะเขตที่มีอาณากว้างขวางเรียกว่า มหาชนบท ชนบทเหล่านี้แบ่งเป็น 2 ส่วน1 คือ
-
ส่วนที่อยู่ภายนอก เป็นหัวเมืองชั้นนอกหรือปัจจันตประเทศ เป็นเขตที่อยู่ของชนชาติ มิลักขะ
แคว้นในสมัยพุทธกาล
แคว้นต่าง ๆ ที่ประกอบเป็นมัชฌิมชนบท เป็นเขตที่มีความรุ่งเรืองในสมัยนั้น ประกอบด้วย
แคว้นใหญ่ ๆ 16 แคว้น
-
ด้านศาสนา
พื้นฐานทางศาสนาของอินเดียในสมัยชมพูทวีป เป็นศาสนาพราหมณ์มีการเชื่อถือเกี่ยวกับการเวียนเกิด เวียนตายของวิญญาณ การแสวงหาทางหลุดพ้นจากความทุกข์ มักจะมีอยู่ 2 ทาง คือ
-
อัตตกิลมถานุโยค คือ การทำตนให้ลำบากด้วยการบำเพ็ญตบะรวมทั้งการทรมานตนตามแบบโยคี
ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา
ประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนาหมายถึง การปกครองของพระสงฆ์ โดยพระสงฆ์และเพื่อ พระสงฆ์ ซึ่งเป็นการปกครองที่ประชาชนทุกคนมีสิทธิ เสรีภาพและหน้าที่ต่อบ้านเมืองเท่าเทียมกันเป็นการปกครองโดยใช้หลักเสียง ข้างมาก ภายใต้กฎหมายรัฐธรรมนูญ ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา ได้มีมาพร้อมกับพระพุทธเจ้าซึ่งใช้หลักการเดียวกันโดยแฝงอยู่ในแนวปฏิบัติ ของหลักคำสอน ซึ่งสามารถวิเคราะห์ได้ ดังนี้
- พระภิกษุในพระพุทธศาสนา มีสิทธิเสรีภาพและความเสมอภาคภายใต้พระธรรมวินัย เช่น ไม่ว่าคนในวรรณะใดเมื่อมาบวชในพระพุทธศาสนาแล้วทุกคนเท่าเทียมกันหมด
- การตัดสินปัญหาที่มีความเห็นแตกต่างกันในเรื่องต่าง ๆ ของภิกษุจะใช้ เยภุยยสิกา คือใช้เสียงข้างมากเป็นเกณฑ์ตัดสิน
- พระพุทธศาสนามีพระธรรมวินัยเป็นประโยชน์สูงสุดเช่นเดียวกับ รัฐธรรมนูญ ซึ่งถือเป็นกิจกรรมของภิกษุสงฆ์ทุกรูปที่จะต้องถือเป็นเรื่องสำคัญเช่น การปฏิบัติตามศีล 227 ข้อ
- ภิกษุทุกรูปมีสิทธิเสรีภาพในการเข้าร่วมประชุมทั้งการแสดงความคิดเห็นที่คัดค้านและเห็นด้วยทุกครั้งไป
- พระพุทธเจ้าได้ทรงมอบความเป็นใหญ่ให้แก่พระสงฆ์ ในการทำสังฆกรรมและการมอบอำนาจให้แก่พระสงฆ์ในการทำการอุปสมบท
- พระพุทธเจ้ามิได้ใช้อำนาจในฐานะพระศาสดาเข้ามาแทรกแซงในการกระทำต่าง ๆ4 แต่มีการแบ่งอำนาจ คือ พระเถระผู้ใหญ่ปกครองหมู่คณะ โดยมีพระวินัยธร ซึ่งทำหน้าที่ตัดสินคดี (วินิจฉัยอธิกรณ์) เช่นเดียวกับศาล