Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จริยธรรม จรรยาบรรณในการใช้ภาษาไทย - Coggle Diagram
จริยธรรม จรรยาบรรณในการใช้ภาษาไทย
หลักการใช้ภาษาไทยอย่างมีจรรยาบรรณ
๑) พูดข้อเท็จจริง
๒) พูดเหมาะสมในงานอาชีพ
๓) มีการพัฒนาและอณุรักษ์ภาษาไทย
๔) มีความเสียสละ อดทน
๕) มีความสุจริตใจ จริงใจ
๗) ใช้ภาษาไทยด้วยบุคลิกภาพที่ดี
๘) พูดให้เกิดประโยชน์ที่ดี
๑๐) เคารพกฎระเบียบของสังคมไทย
๙) ปฎิบัติตามบรรทัดฐานของสังคมไทย
ความรู้เกี่่ยวกับจริยธรรม จรรยาบรรณในการใช้ภาษาไทย
๑) จรรยา หมายถึง ความประพฤติ, กิริยาที่ควรประพฤติในหมู่คณะ.
๒) จรรยาบรรณ หมายถึง ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพแต่ละอาชีพกำหนดขึ้นเพื่อรักษา และส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียงรวมถึงฐานะของสมาชิก
๓ ) คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงามความดี
๔) มโนธรรม หมายถึง ความรู้สึกผิดชอบชั่วดี
๕) มารยาท หมายถึง กิริยา วาจา ที่ถือว่าสุภาพเรียบร้อย อันประกอบด้วยการเสียสละ ความพอใจส่วนตัว เพื่อทำความพอใจให้ผู้อื่น
ภาษาถิ่น ภาษาอาเซียน
๑) ภาษาถิ่น หมายถึง ภาษาที่ใช้กันเฉพาะท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว.
๒) ภาษาถิ่นเหนือ คือ ภาษาที่ใช้สื่อสารของประชาชนทางภาคเหนือของประเทศไทย แต่ละจังหวัดมีสำเนียงต่างกันไป เรียกว่า คำเมือง
๓) ภาษาอีสาน คือ ภาษาที่ใช้สื่อสารของประชาชนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย แต่ละจังหวัดมีสำเนียงต่างกันไป ทั้งสำเนียงลาวพวน ไทยโคราช ภาษาส่วย ภาษาเขมรในแถบจังหวัดสุรินทร์
๔) ภาษาถิ่นใต้ คือ ภาษาที่ใช้สื่อสารของประชาชนทางภาคใต้ มีทั้งภาษายาวี ภาษาชาวเล ภาษาซาไก
๕) ภาษาถิ่นกลาง คือ สำเนียงถิ่นตามจังหวัดภาคกลาง มีเฉพาะของตนเอง