Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pneumonia - Coggle Diagram
Pneumonia
ปัญหาที่พบ และการวางแผนการดูแล
ปัญหาที่ 2 พร่องกิจวัตรประจำวันเนื่องจากขาไม่มีแรงจากภาวะโรคหลอดเลือดสมอง
ข้อมูลสนับสนุน : Subjective data : -ญาติผู้ป่วยให้ประวัติว่าผู้ป่วยนอนติดเตียงเป็นเวลา 1 ปี
ภาวะโรคหลอดเลือดสมอง ล้มป่วย ต้อกระจก ต้อกระจก การได้ยิน สูญเสียสถานะหูทั้งสองข้าง
Objective data : -แรกรับ ER E3V1M5
-ผู้ป่วยไม่สามารถเดินได้
กิจกรรมการดูแล
1.ดูแลเรื่องความสะอาดของร่างกาย -ทำความสะอาดร่างกายให้ผู้ป่วย แบบสมบูรณ์(complete bed bath)
2.ทำความสะอาดอวัยะสืบพันธุ์
2.ดูแลเรื่องการขับถ่าย อุจจาระ ปัสสาวะ ตรวจดูผ้าอ้อมสำเร็จรูปทุกๆ2 ชั่วโมง หากผู้ป่วยถ่ายอุจจาระให้เปลี่ยนทันที
3.ดูแลความสะอาดสิ่งแวดล้อม บริเวณเตียงผู้ป่วยให้สะอาด โดยการเปลี่ยนผ้าปูเตียง เช็ดบริเวณหัวเตียง โต๊ะข้างเตียงให้สะดาด
4.ดะแลเรื่องการรับประทานอาหารผู้ป่วย ให้ได้รับสารอาหารครบถ้วน ตามที่แพทย์สั่ง
ปัญหาที่ 3 เสี่ยงแผลกดทับเนื่องจากไม่สามารถพลิกตะแคงตัวเองได้
ข้อมูลสนับสนุน : Subjective data : -ญาติผู้ป่วยให้ประวัติว่าผู้ป่วยนอนติดเตียงเป็นเวลา 1 ปี
-มีภาวะโรคหลอดเลือดสมอง ล้มป่วย ต้อกระจก การได้ยิน สูญเสียสถานะหูทั้งสองข้าง
Objective data : -แรกรับ ER E3V1M5
-ผู้ป่วยไม่สามารถพลิกตะแคงตัวเองได้
กิจกรรมการดูแล
1.เปลี่ยนและจัดท่าให้ผู้ป่วยควรเปลี่ยนท่านอนใหม่ทุก ๆ 2 ชั่วโมง
2.ป้องกันภาวะผิวหนังที่แห้งหรืออับชื้นมากจนเกินไปของผู้ป่วย ผู้ป่วยไม่สามารถกลั้นปัสสาวะอุจจาระได้ เปลี่ยนเสื้อผ้าที่ใช้อยู่ให้สะอาดเป็นประจำรวมถึงอาจใช้ยา ครีมทาเคลือบผิว เพื่อลดอาการระคายเคือง
ดูแลด้านโภชนาการให้ผู้ป่วยได้รับอย่างครบถ้วน เพราะมีความจำเป็นอย่างมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ป่วยที่ได้รับอาหารผ่านทางสายยางหากภาวะโภชนาการดี ก็จะทำให้โอกาสการเกิดแผลน้อยลง แม้ว่าจะเป็นแผลก็ฟื้นตัวได้เร็วขึ้น
หมั่นสอดส่องความผิดปกติที่เกิดขึ้น กับผิวหนังบริเวณที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผล เช่น ตำแหน่งที่มีการกดทับ ตำแหน่งที่มีการเสียดสีบ่อย ๆ ปุ่มกระดูกที่พบมาก บริเวณก้นกบ ตาตุ่ม ข้อศอก
ปัญหาที่ 1 ผู้ป่วยติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
ข้อมูลสนับสนุน : Subjective data : ญาติผู้ดูแลป่วยให้ประวัติว่าผู้ป่วยอ่อนเพลีย มีไข้สูง
Objective data : -มีไข้ อุณหภูมิ 38.7 องศาเซลเซียส
กิจกรรมการดูแล
1 .เช็ดตัวลดไข้เพื่อเป็นการถ่ายเทความร้อนออกจากร่างกายหลังจาก30นาทีวัดอุณหภูมิอีกครั้ง
ตรวจวัดและบันทึกสัญญาณชีพของผู้ป่วย วัดทุกๆ 4 ชั่วโมง
ให้นอนพักผ่อนในห้องที่มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก
สังเกตความผิดปกติ เช่น มีอาการหนาวสั่น อาการเพ้อ ชัก ให้รีบแจ้งพยาบาล
ปัญหาที่ 4 ผู้ป่วยไม่สุขสบาย เนื่องจากคันบริเวณร่างกาย
ข้อมูลสนับสนุน : Subjective data : ญาติผู้ป่วยให้ประวัติว่ามีผื่นแดงขึ้นบริเวณร่างกาย
Objective data : -มีผื่นแดงทั้งร่างกาย
-ผู้ป่วยเกาตามร่างกายวันละ 5-6 ครั้ง
กิจกรรมการดูแล
1.ตัดเล็บผู้ป่วยให้สั้นอยู่เสมอ
2.หลีกเลี่ยงการแกะเกาบริเวณผิวหนัง เนื่องจากจะทำให้เกิดผิวหนังอักเสบหรือการติดเชื้อแบคทีเรีย และโรคอาจเป็นมากขึ้นได้
3.ใช้สบู่อ่อนๆ ใช้โลชั่นทาผิว เพื่อให้ความชุ่มชื้นแก่ผิวหนัง
4.หลีกเลี่ยงการใส่เสื้อผ้าขนสัตว์ ผ้าเนื้อหยาบ หรือใยแก้ว ซึ่งอาจระคายเคืองและกระตุ้นให้เกิดอาการคันเพิ่มมากขึ้นได้ ควรใส่เสื้อผ้าที่โปร่งสบาย ไม่รัด
5.ใช้ยาตามคำแนะนำของแพทย์ TRIAMCINOLONE(5g)0.1%หลอด(5g)ทาวันละ2-3 ครั้ง/วัน เพื่อควบคุมอาการคัน และรักษาโรคที่เป็นสาเหตุของอาการคัน
ปัญหาที่ 5 ผู้ป่วยมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของตนเอง
ข้อมูลสนับสนุน Subjective data : ญาติผู้ป่วยบอกว่ากังวลเรื่องการเจ็บป่วยของตนเองก่อนที่จะไม่พูด
Objective data : ผู้ป่วยมีหน้าวิตกกังวล ไม่สดชื่น ร้องไห้เป้นบางครั้ง
กิจกรรมการดูแล
สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยด้วยวาจาที่ สุภาพ อ่อนโยน ท่าทางที่เป็นมิตร เพื่อความเป็นกันเอง
ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยทราบทุกครั้งก่อนให้การพยาบาล และให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล เห็นอกเห็นใจ
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจเกี่ยวกับอาการ ของโรค สาเหตุของการเกิดอาการโรคที่ผู้ป่วยเป็นเพื่อลดความวิตกกังวล
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ซักถามข้อสงสัย ระบาย ความรู้สึก
ปัญหาที่6 ผู้ป่วยไม่สุขสบาย เนื่องจากมีไข้สูง
ข้อมูลสนับสนุน : Subjective data : ญาติผู้ดูแลป่วยให้ประวัติว่าผู้ป่วยอ่อนเพลีย มีไข้สูง
Objective data : - มีไข้ อุณหภูมิ 38.7 องศาเซลเซียส
กิจกรรมการดูแล
1 .เช็ดตัวลดไข้เพื่อเป็นการถ่ายเทความร้อนออกจากร่างกาย
แล้ววัดอุณหภูมิซ้ำหลังจากเช็ดตัวประมาณ 30 นาที เพื่อประเมินอาการไข้ของผู้ป่วย
ตรวจวัดและบันทึกสัญญาณชีพของผู้ป่วย วัดทุกๆ 4 ชั่วโมง
สังเกตความผิดปกติ เช่น มีอาการหนาวสั่น อาการเพ้อ ชัก ให้รีบแจ้งพยาบาล
สาเหต
เกิดจากการติดเชื้อ
แบคทีเรีย
ไวรัส
โปรโตซัว
เชื้อรา
การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ
ไอ จาม
หายใจเอาเชื้อโรคเข้าไปในทางเดินหายใจการสำลักเอาเศษอาหารหรือสารเคมีเข้าสู่ปอดความต้านทานในร่างกายต่ำ
ผลตรวจพิเศษ
Na=129mmol/L
K=3.2mmol/L
Cl=96mmol/L
CXR lung : Infilltration
พยาธิสภาพ
มีการติดเชื้อในทางเดินหายใจจากการหายใจหรือสูดดม แบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะบวมคั่ง (stage of congestion)
เมื่อเชื่อโรคเข้าสู่ปอดและมีการแบ่งตัว เกิดการอักเสบร่างกายมีกลไกป้องกับตัวตอบสนองต่อการอักเสบ มีเลือดมาคั่งบริเวณที่เกิดอักเสบ หลอดเลือดขยายตัว มีเชื้อโรค WBC ไฟบริน RBC ออกมาจับกินสิ่งแปลกปลอมระยะนี้ใช้เวลา 24-46 ชั่วโมง หลังจากเชื้อโรคเข้าสู่ปอด
ระยะปอดแข็ง (stage of consolidation)
หลอดเลือดฝอยที่ผนังถุงลมปอดขยายตัวมากขึ้นทำให้เนื้อปอดมีสีแดงจัด หากอักเสบรุนแรงเชื้อโรคจะลุกลามไปยังเนื้อปอดด้วย เม็ดเลือดขาวจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเพื่อจับกินเชื้อโรค มีสิ่งคัดหลั่งคล้ายหนอง (exudate) เซลล์โพลีมอร์โฟ และไฟบริน ทำให้หลอดเลืือดฝอยที่ผนังถุงลมหดตัว การแลกเปลี่ยนก๊าซไม่เพียงพอ เกิดการอุดกั้นทางเดินอากาศ ทำให้ความดันในถุงลมลดลง ้ลือดที่ไปเลี้ยง ร่างกายขาด O2 ระยะนี้ใช่เวลา 3-5 วัน
ระยะปอดฟื้นตัว (stage of resolution)
หากร่างกายสามารถต่อต้านเชื้อโรคที่เข้าสู่ปอดได้โดย WBC สามารถจับกินสิ่งแปลกปลอมได้หมด ร่างกายเอนไซดม์มาละลายไฟบริน WBC และหนองออกมาเป็นเสมหะ การอักเสบจะหายไปเกิดพังผืดแทน ระยะฟื้นตัวในผู้ใหญ่ 2 สัปดาห์
หมายถึง
การอักเสบของปอดจากเชื้อโรคหรือการสำลักทำให้มีการสะสมสิ่งคัดหลั่งภายในปอด การแลกเปลี่ยนก๊าซไม่มีประสิทธิภาพ
ชนิดของอาหาร
liquid diet
ซักประวัติและตรวจร่างกาย
นางสาลี่ อายุ 78 ปี น้ำหนัก 53 Kgs. สูง146 Cm
Temp=38 c, Puise=104/min , RR=26/Min ,BP=113/63
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต : Stroke status bedridden, cataract, Lt.eye
hearing, ioss bothvears status.
ประวัติแพ้ยา : SULF AMETHOXAZONE , TRIMETHOPRIM
การรักษาที่ได้รับ
Lab : Electrolyes
NSS0.9%ขวด (1,000ml.) IV rate 60 ml/hr
TRIAMCINOLONE(5g)0.1%หลอด(5g) ทาบางๆ วันละ สองครั้งเช้า-เย็น
CEFTRIAXONE 2 gm IV OD
chest portable X-ray
KCL syr 1.33 mEq/1ml ขวด (60 ml) 30 ml po* 1dose
add เกลือแกง 2 ช้อนชา/มื้อ
PARA(500mg.) เมื่อมีไข้
การวินิจฉัยโรค
Pneumonia
อาการสำคัญ
15.41 น.EMSก่อนมา รพ. ไข้ เพลีย มีผื่นแดงขึ้นบริเวณร่างกาย ถ่ายยาก ญาติสวนอุจจาระ กินยาพาราไม่ทุเลา แรกรับ ER E3V1M5 SpO2 = 100% DTX= 103mg/dl
อาการปัจจุบัน
15.41 น.EMS2 วันก่อนมา รพ. ไข้มา 2 วัน มีผื่นแดงตามตัว กินยาแก้แพ้ตอนนี้ผื่นยุบ ลอกออกเป็นขุยหมดแล้ว ไม่ไอ feed ทาง NG ได้รับไม่สำลัก ไม่ถ่ายมา 3 วัน สวนอุจจาระล่าสุด 3วันก่อน ไม่มีมูกเลือด
วันที่รับไว้ในโรงพยาบาล : 6 ม.ค.65 วันที่รวบรวมข้อมูล : 6 ม.ค.65
วันที่รับไว้ในความดูเเลวันที่ 10 ม.ค.65