Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
GramPositiveBacteria แกรมบวก - Coggle Diagram
GramPositiveBacteria
Bacillus cereus
เชื้อสร้าง Enterotoxin >> Food Poisoning มีอาการอาเจียน ท้องร่วง
ตาอักเสบ (Panophthalmitis)
▪ แหล่งของเชื้ออยู่ในสิ่งของที่ปนเปื้อนกับดิน >> แพร่เข้าตา
▪ เชื้อลุกลามอย่างรวดเร็ว >> ทำลายเนื้อเยื่อเรตินา >>สูญเสียการมองเห็นภายใน 48 ชม.
Clostridium
Clostridium tetani
การก่อโรค >> โรคบาดทะยัก (Tetanus)
▪ เกิดจากบาดแผลขนาดเล็ก หรือรอยถลอก ที่ปนเปื้อนสปอร์ C. tetani จากดิน หรือจากการสัมผัสสิ่งสกปรก ▪ toxin เข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง ▪ เชื้อแบ่งตัวได้ดีในสภาพเนื้อตาย แผลลึก และแผลที่มีดินติด
อาการและอาการแสดง
อาการขากรรไกรแข็ง : เนื่องจากการหดตัวของของกล้ามเนื้อเกี่ยวกับการเคี้ยว
อาการชักกระตุก : เนื่องจากได้รับการกระตุ้นจากสิ่งแวดล้อมภายนอก
อาการหลังแข็งแล้วแอ่นไปข้างหน้า : เวลานอนจะมีส่วนศีรษะและแขนที่แตะที่นอน
Clostridium perfringens
Clostridial Food Poisoning
▪ อาการและอาการแสดง >> ปวดท้องรุนแรง คลื่นไส้ และท้องร่วง
โรคก๊าซแกงกรีน หรือโรคเนื้อตายเน่า (Gas Gangrene/Myonecrosis)
▪อาการและอาการแสดง >>
1.บริเวณรอบแผลบวมน้ำ มีตุ่ม มีของเหลวไหลซึมออกมา
แผลบริเวณกล้ามเนื้อบวมเป็นสีม่วงคล้ำ มีก๊าซ และของเหลวสะสม
แผลถูกล้อมรอบด้วยพังผืด เกิดความดันเพิ่มขึ้น ขาดเลือด และกล้ามเนื้อตาย
แผลถูกล้อมรอบด้วยพังผืด เกิดความดันเพิ่มขึ้น ขาดเลือด และกล้ามเนื้อตาย
Clostridium botulinum
1. Foodborne Botulism
อาการและอาการแสดง >> อ่อนเพลีย ปวดท้อง เวียนศีรษะ กระหายน้ า คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก
2. Wound Botulism
3. Infantile Botulism
อาการ >> ท้องผูก เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ดูดกลืนลำบาก ร้องไห้
เสียงเบา และคออ่อนพับ
Streptococcus
Streptococcus pneumoniae
การก่อโรค >> โรคปอดบวม / ปอดอักเสบ
(Pneumonia / Pneumonitis)
▪ ไซนัสอักเสบ หูชั้นกลางอักเสบ หลอดลมอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
เยื่อบุหัวใจอักเสบ ข้ออักเสบ
Streptococcus pyogenes
การก่อโรค >>
โรคไฟลามทุ่ง (Erysipelas) อาการและอาการแสดง >> เกิดรอยแผลตามใบหน้าและขา ผิวหนังจะเป็นสีแดงคล้ำ บวมน้ำ
และเป็นตุ่ม
โรคคออักเสบเฉียบพลัน (Acute pharyngitis)
อาการและอาการแสดง >> เจ็บคอ กลืนน้ำลายแล้วรู้สึกเจ็บคอ มีไข้ คอหอย และต่อมทอนซิลแดง มีหนองที่ต่อมทอนซิล ลิ้นไก่บวมแดง
Streptococcus agalactiae
การก่อโรค >> พบเชื้อบริเวณ pharynx ทางเดินอาหาร ช่องคลอด อาการและอาการแสดง >> Bacteremia >> ภาวะโลหิตเป็นพิษในทารกแรกเกิด
Streptococcus mutans
การก่อโรค >> โรคฟันผุ (decayed teeth)
▪ พบเชื้อใน nasopharynx ในปาก รอยแยกของช่องเหงือก
Streptococcus suis
การก่อโรค >> เป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน >> ถ่ายทอดสู่คนโดยการสัมผัสโดยตรง และ
การกินอาหารสุกๆดิบๆ
อาการและอาการแสดง >> เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ข้ออักเสบ ม่านตาอักเสบ
Staphylococcus
Staphylococcus aureus
1. การติดเชื้อที่ผิวหนัง ▪ ฝีและฝีฝักบัว (furuncles and carbuncles) ▪ โรคผิวหนังเป็นตุ่มพุพอง (impetigo)
▪ โรคผิวหนังหลุดลอก (scalded skin syndrome)
ไขกระดูกอักเสบ (osteomyelitis) : ในเด็กชายอายุต่ ากว่า 12 ปี
โพรงข้อต่อมีหนอง (pyoarthrosis) : หลังจากการทำศัลยกรรมกระดูก
อาหารเป็นพิษ (Food poisoning) : การกินอาหารที่ปนเปื้อน enterotoxin ของเชื้อ
ลำไส้อักเสบ (enterocolitis) : คนไข้ในโรงพยาบาลที่ normal flora ในลำไส้ ถูกยับยั้ง
การเจริญด้วย antibiotic ที่ออกฤทธิ์กว้าง
ช็อก (Toxic Shock Syndrome, TSS) : ในผู้หญิงที่ใช้ผ้าอนามัยแบบสอด
Staphylococcus saprophyticus
การก่อโรค >> พบเชื้อตามผิวหนัง >> ติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะของผู้หญิง
อาการและอาการแสดง >> ปวดเวลาถ่ายปัสสาวะ มีหนอง และมีเชื้อจำนวนมากในปัสสาวะ
Mycobacterium
Mycobacterium tuberculosis
การก่อโรค >> วัณโรค (Tuberculosis) อาการและอาการแสดง >> ▪เยื่อหุ้มปอดอักเสบ เจ็บหน้าอก ไอ มีไข้ตอนบ่าย เหงื่อออกตอนกลางคืน เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
▪เชื้อกระจายไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกายหลังจากเกิดภาวะ Bacteremia
▪ การติดต่อ : การไอ และจากเสมหะ
Mycobacterium leprae**
การก่อโรค >> โรคเรื้อน (Leprosy หรือ Hansen's disease, HD)
อาการและอาการแสดง >>
อาการทางผิวหนัง เส้นประสาทส่วนปลาย เยื่อบุทางเดินหายใจส่วนบน
Corynebacterium diphtheriae
การก่อโรค >> โรคคอตีบ (Diphtheria)
อาการและอาการแสดง >> เกิด pseudomembrane
▪เป็นแผ่นเยื่อมีความเหนียวมากและลอกออกยาก
▪พบบริเวณต่อมทอนซิล >> แพร่สู่โพรงจมูก กล่องเสียง และหลอดลม
▪แผ่นเยื่อไปปิดกั้นทางเดินหายใจ >> หายใจไม่ออก (ต้องช่วยหายใจโดยการเจาะคอ)
▪toxin แพร่เข้าสู่ร่างกายทางกระแสเลือด : Bacteremia
Listeria monocytogenes
การก่อโรค >>
▪ พบในทารกแรกเกิด หญิงตั้งครรภ์ ผู้สูงอายุ และคนไข้ภูมิคุ้มกันต่ำ
▪ ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจ โลหิตเป็นพิษ และสมองอักเสบ
Spirochetes
Leptospira interrogans
การก่อโรค >> โรคฉี่หนู (Leptospirosis)
Treponema pallidum
การก่อโรค
โรคซิฟิลิส (Syphilis)
ซิฟิลิสที่เกิดขึ้นภายหลัง (Acquired syphilis) : ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ >> เชื้อเข้าสู่ร่างกาย
ทางผิวหนังที่มีแผล รอยถลอก หรือเยื่อเมือกของอวัยวะสืบพันธุ์
ซิฟิลิสแต่ก าเนิด (Congenital syphilis) : มารดาติดเชื้อซิฟิลิสขณะตั้งครรภ์
(เชื้ออยู่ในกระแสเลือด >> ผ่านรก >> ทารกในครรภ์)
▪
ระยะที่ 1 (primary syphilis)
: เกิดขึ้นหลังจากได้รับเชื้อ 2-10 สัปดาห์
▪ระยะ hard chancre (แผลริมแข็ง)
▪ตรวจเลือดยังไม่ให้ผล + จนกว่าจะเกิดรอยแผลแล้วอย่างน้อย 1 สัปดาห์
▪เชื้อติดต่อสู่ผู้อื่นได้
▪
ระยะที่ 2 (secondary syphilis)
เกิดหลังเป็นแผลริมแข็ง 1-2 เดือน
▪ มีอาการแสดงออกทางผิวหนัง คือ เม็ดตุ่ม หรือผื่นแดงตามร่างกาย
เป็นผื่นเรียบ ขนาดเล็ก หรือนูนเป็นตุ่มแข็ง
▪ ระยะออกดอก (แพร่เชื้อมากที่สุด)
▪ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เป็นไข้ เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
▪
ระยะที่ 3 (tertiary/late syphilis)
: ระยะไม่ติดต่อ ▪เป็นระยะทำลายของโรค (5-20 ปี)
▪เกิด gumma ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น ผิวหนัง กระดูก ตับ ลิ้น เพดานปาก กระดูกใบหน้า
▪เชื้อทำลายสมอง >> ความจำเสื่อม
▪ตาบอด หูหนวก เส้นเลือดแดงใหญ่โป่งพอง ลิ้นหัวใจเสื่อม