Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เตียง 11 Term pregnancy with PROM, นศพต. จันทร์จิรา ส่องสพ ชั้นปีที่ 3…
เตียง 11
Term pregnancy with PROM
ข้อมูลส่วนตัว
มารดาหลังคลอด ชาวไทย อายุ 31 ปี
เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนาพุทธ
ระดับการศึกษา ปวส. สถานภาพ ยังไม่แต่งงาน
อาชีพ รับจ้าง อาศัยอยู่ทาวน์เฮ้าส์ 2 ชั้น อาศัยอยู่กับสามี
รายได้ของแม่ 9,000 บาท รายได้ของพ่อ 15,000 บาท
ไม่มีปัญหาด้านเศรษฐกิจ เนื่องจากตั้งใจและวางแผนไว้แล้วว่าจะมีบุตร เคยคุมกำเนิดแบบกิน ตั้งใจจะมีลูก 2 คน คนที่ 2 เป็นผู้หญิงคิดว่าจะคุมกำเนิด 2 แบบ คือ ฝังเข็มและทำหมัน
อาการสำคัญ
อาการสำคัญ
มีน้ำเดิน 3 ชั่วโมง (Premature rupture of membranes: PROM) ก่อนมาโรงพยาบาล
การเจ็บป่วยครั้งนี้
3 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล มีน้ำเดินทางช่องคลอดใส ไม่มีกลิ่นเหม็นมาคลินิก โรงพยาบาลตำรวจ
2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล มีมูกเลือดทางช่องคลอด ท้องแข็ง 3 ครั้งใน 1 ชั่วโมง นานครั้งละ 3 นาที
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว : แม่ของผู้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ประมาณ 10 ปี พ่อของผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงประมาณ 4-5 ปี
ปฏิเสธการแพ้ยา/แพ้อาหาร
ปฏิเสธการผ่าตัด
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด
G1P0A0 LMP : 21 มิถุนายน 2564 EDC : 9 กุมภาพันธ์ 2565 by U/S ฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ 24 wks 2 days ฝากครรภ์ทั้งหมด 5 ครั้ง
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 54 kg ส่วนสูง 170 เซนติเมตร BMI 18.69 kg/m2
น้ำหนักหลังตั้งครรภ์ 69.6 kg น้ำหนักขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 15.6 กิโลกรัม Preg 39 wks by U/S คลอดแบบ Normal Labor 2 กุมภาพันธ์ 2565 (22.40น.) Tear Cervix with PROM
การประเมินภาวะสุขภาพหลังคลอด
(13B)
Background
ข้อมูลส่วนตัว
มารดาหลังคลอด ชาวไทย อายุ 31 ปี
เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนาพุทธ
ระดับการศึกษา ปวส. สถานภาพ ยังไม่แต่งงาน
อาชีพ รับจ้าง อาศัยอยู่ทาวน์เฮ้าส์ 2 ชั้น อาศัยอยู่กับสามี
รายได้ของแม่ 9,000 บาท รายได้ของพ่อ 15,000 บาท
ไม่มีปัญหาด้านเศรษฐกิจ เนื่องจากตั้งใจและวางแผนไว้แล้วว่าจะมีบุตร เคยคุมกำเนิดแบบกิน ตั้งใจจะมีลูก 2 คน คนที่ 2 เป็นผู้หญิงคิดว่าจะคุมกำเนิด 2 แบบ คือ ฝังเข็มและทำหมัน
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด
G1P0A0 LMP : 21 มิถุนายน 2564 EDC : 9 กุมภาพันธ์ 2565 by U/S ฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ 24 wks 2 days ฝากครรภ์ทั้งหมด 5 ครั้ง
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 54 kg ส่วนสูง 170 เซนติเมตร BMI 18.69 kg/m2
น้ำหนักหลังตั้งครรภ์ 69.6 kg น้ำหนักขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 15.6 กิโลกรัม Preg 39 wks by U/S คลอดแบบ Normal Labor 2 กุมภาพันธ์ 2565 (22.40น.) Tear Cervix with PROM
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด
G1P0A0
LMP : 21 มิถุนายน 2564 EDC : 9 กุมภาพันธ์ 2565 by U/S ฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ 24 wks 2 days ฝากครรภ์ทั้งหมด 5 ครั้ง
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 54 kg ส่วนสูง 170 เซนติเมตร BMI 18.69 kg/m2
น้ำหนักหลังตั้งครรภ์ 69.6 kg น้ำหนักขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 15.6 กิโลกรัม Preg 39 wks by U/S คลอดแบบ Normal Labor 2 กุมภาพันธ์ 2565 (22.40น.) Tear Cervix with PROM ทารก เพศชาย APGAR score 9,10,10 หักสีผิว น้ำหนัก 3,070 กรัม ความยาว 51 เซนติเมตร
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว : แม่ของผู้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ประมาณ 10 ปี พ่อของผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงประมาณ 4-5 ปี
ปฏิเสธการแพ้ยา/แพ้อาหาร
ปฏิเสธการผ่าตัด
ปฏิเสธแอลกอฮอล์และบุหรี่ เคยดื่มแอลกอฮอล์แต่เลิกเมื่อประมาณ 10 ปีก่อน เพื่อเตรียมตัวมีลูก
อาการสำคัญ
อาการสำคัญ
มีน้ำเดิน 3 ชั่วโมง (Premature rupture of membranes: PROM) ก่อนมาโรงพยาบาล
การเจ็บป่วยครั้งนี้
3 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล มีน้ำเดินทางช่องคลอดใส ไม่มีกลิ่นเหม็นมาคลินิก โรงพยาบาลตำรวจ
2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล มีมูกเลือดทางช่องคลอด ท้องแข็ง 3 ครั้งใน 1 ชั่วโมง นานครั้งละ 3 นาที
Body condition
3/2/65
มารดามีอาการเหนื่อย อ่อนเพลียเล็กน้อย ไม่มีภาวะซีด เคลื่อนไหวร่างกายได้ปกติ ลุกนั่งบนเตียงได้เอง สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง เมื่อเวลา 13.30 น.หน้ามืด เวียนศีรษะ ขณะจะเดินไปดูลูกที่ SNCU
4/2/65
มารดา อ่อนเพลียเล็กน้อย ไม่มีภาวะซีด เคลื่อนไหวร่างกายได้ปกติ ลุกนั่งบนเตียงได้เอง สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง มีคววามเครียด เนื่องจากทราบว่าลูกหายใจเร็ว ต้องรักษาอยู่ที่ SNCU
Body temperature &Body pressure
3/2/65 (10.00 น.)
BT 36.6 องศาเซลเซียส
PR 88 ครั้งต่อนาที
RR 18 ครั้งต่อนาที
BP 97/51 มิลลิลิตรปรอท
Pain score 3 คะแนน
4/2/65 (10.00 น.)
BT 36.7 องศาเซลเซียส
PR 86 ครั้งต่อนาที
RR 18 ครั้งต่อนาที
BP 110/80 มิลลิลิตรปรอท
Pain score 2 คะแนน
Breast & Lactation
3/2/65
เต้านมนิ่ม ลานนมนิ่ม ไม่มีกดเจ็บ ไม่มีก้อน น้ำนมไหลระดับ 1
ประมาณ 1-2 หยด หัวนมปกติ
4/2/65
เต้านมเริ่มตึงๆ ขยายใหญ่ขึ้น ไม่มีกดเจ็บ ไม่มีก้อน น้ำนมไหลดีขึ้น การไหลระดับ 2 ประมาณ 3-5 หยด หัวนมปกติ
Belly & Fundus
3/2/65
มดลูกหดรัดตัวดี กลมแข็งเล็กน้อย อยู่ต่ำกว่าระดับสะดือ ระดับของยอดมดลูก วัดจาก symphysis pubis จนถึงยอดมดลูก ประมาณ 6 นิ้ว ขณะยังไม่ปัสสาวะ ความปวดที่บริเวรมดลูก 3 คะแนน
4/2/65
มดลูกหดรัดตัวดี กลมแข็งเล็กน้อย อยู่ต่ำกว่าระดับสะดือ ระดับของยอดมดลูก วัดจาก symphysis pubis จนถึงยอดมดลูก ประมาณ 4.5 นิ้ว ความปวดบริเวณมดลูก 2 คะแนน
Bladder
3/2/65
ปัสสาวะได้เอง ไม่มีแสบขัด ไม่มีปวดเกร็งท้องน้อย สีเหลืองใส ประมาณ 4 ครั้งต่อวัน
4/2/65
ปัสสาวะได้เอง ไม่มีแสบขัด ไม่มีปวดเกร็งท้องน้อยสีเหลืองใส ประมาณ 3 ครั้งต่อวัน
Bleeding & Lochia
3/2/65
น้ำคาวปลามีสีแดง (lochia rubra) ชุ่มผ้าอนามัย 1 แผ่น และเปลี่ยนผ่าอนามัย 2 แผ่น รวมประมาณ 100 มล.
ไม่มีกลิ่นเหม็น ไม่มีริดสีดวงทวาร
4/2/65
น้ำคาวปลามีสีแดง (lochia rubra) ชุ่มผ้าอนามัย 1 แผ่น และเปลี่ยนผ่าอนามัย 2 แผ่น รวมประมาณ 40 มล.
ไม่มีกลิ่นเหม็น ไม่มีริดสีดวงทวาร
Bottom
3/2/65
แผลฝีเย็บ ประมาณตามหลัก REEDA ไม่แดง ไม่บวม ไม่มีคั่งเลือด ไม่มี hematoma ไม่มี discharge ขอบแผลชิดติดกันดี คะแนนความปวด 3 คะแนน
4/2/65
แผลฝีเย็บ ประเมินตามหลัก REEDA ไม่แดง ไม่บวม ไม่มีคั่งเลือด ไม่มี hematoma ไม่มี discharge ขอบแผลชิดติดกันดี คะแนนความปวด 2 คะแนน
Bowel movement
3/2/65
รับประทานอาหารธรรมดา ไม่มีอาการท้องอืด ไม่มีท้องเฟ้อ ไม่มีท้องผูก
4/2/65
รับประทานอาหารธรรมดา ไม่มีอาการท้องอืด ไม่มีท้องเฟ้อ
ไม่มีท้องผูก
Blues
มารดารับฟังคำแนะนำวิธีการเลี้ยงดูบุตร การเอาเข้าเต้าตามหลัก 4 ด. ได้การปั๊มนม การนวดเต้านม เพื่อลดอาการคัดตึงเต้า การทำความสะอาดเต้านม การทำความสะอาดอวัยวะเพศ การใส่ผ้าอนามัยที่ถูกต้องและการออกกำลังกายต่างๆอย่างถูกต้อง
Bonding & Attachment
สร้างสัมพันธภาพให้แม่และทารก
2/2/65 ในห้องคลอดแม่ได้รู้เพศของลูก
4/2/65 แม่ได้เจอกับทารกอีกครั้งได้ Eye contact ครั้งแรก แม่รู้สึกดีใจที่เห็นลูกและรู้สึกกังวลว่าลูกไม่สบายและจะได้กลับบ้านก่อนลูก
Baby
ทารกเพศชาย คลอดวันที่ 2/2/65 เวลา 22.40 น.
น้ำหนักแรกเกิด 3,070 กรัม ความยาว 51 เซนติเมตร
APGAR score 9,10,10 หักคะแนนสีผิว
Belief
มารดามีความเชื่อเกี่ยวกับ
เรื่องการอยู่ไฟ เข้ากระโจมหลังคลอด คิดว่าจะกลับไปทำที่บ้าน
เรื่องปั๊มนม โดยใช้เครื่องแบบคันโยก เพื่อป้องกันหัวแตกจะให้นมลูกให้นานเท่าที่ทำได้ และจะเลี้ยงลูกด้วยตนเอง
คิดว่าจะคุมกำเนิดโดยการทำหมัน เนื่องจากอยากมีลูกผู้หญิงอีกคนจะคิดว่าจะผ่าคลอดจึงจะทำหมันด้วย
การตรวจร่างกาย
หนังศรีษะและเส้นผม : หนังศรีษะมีรังแคเล็กน้อย ผมสีน้ำตาล เส้นผมแห้งเสียจากการทำสี
ใบหน้า : ใบหน้าสมมาตร ไม่มีบวม โน ไม่มีก้อน ไม่มีผื่น สีหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส
ตา : scerla สีขาว ไม่เหลือง conjunctiva สีชมพูอมแดง ไม่มีซีด
จมูก : ผนังกั้นจมูกไม่คดเคี้ยว ไม่มีสิ่งคัดหลั่ง ไม่มีบวมแดง
ปากและฟัน : ไม่มีเหงือกบวม ไม่มีแผลร้อนใน ไม่มีฟันผุ ริมฝีปากชมพูอ่อน แห้งเล็กน้อย
คอ : คลำไม่พบก้อน ไม่มีไทรอยด์โต
เต้านม : เต้านม 2 ข้างสมมาตรกัน ไม่มีรอยโรค คลำไม่พบก้อน ไม่มีอาการเจ็บคัดตึง ลานนมนุ่มปกติ หัวนมไม่บอด ไม่บุ๋ม หัวนมทั้งสองยาวประมาณ 1 ซม. การไหลของน้ำนมระดับ 1(น้ำนมไหล 1-2 หยด)
ขา : ไม่มีบวม ไม่มีกดบุ๋ม
ข้อวินจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการตกเลือด เนื่องจากมีแผลมีโพรงมดลูก ปากมดลูก
และฝีเย็บ
ข้อมูลสนับสนุน
แม่บอกว่าตนเองเบ่งคลอดก่อนที่จะให้เบ่ง
มารดามีแผลฉีกขาดบริเวณปากมดลูก
ไม่ได้รับการกระตุ้นจากลูกดูดนม
มี tear cervix
มารดาได้รับยาเร่งคลอด เนื่องจากน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
3/2/65 10.00 น.
BP 97/51 mmHg
รกหนัก 900 กรัม
ผู้ป่วยคลอด Normal labor blood loss 200 ml
มีแผลฝีเย็บที่ระดับ 2
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการตกเลือด
เกณฑ์การประเมิน
สัญญาณชีพ อยู่ในเกณฑ์ปกติ
BT 36.5 - 37.4 องศาเซลเซียส
PR 60 - 100 ครั้งต่อนาที
RR 18 ครั้งต่อนาที
BP 90 - 120/60 - 90 mmHg
มดลูกหดรัดตัวดี กลมแข็ง ลอยระดับสะดือ
ปกติควรลดวันละ 0.5 - 1 นิ้ว
ปริมาณเลือดที่ออกจากช่องคลอดลดลง ไม่พบลิ่มเลือดหรือก้อนเลือดขนาดใหญ่ออกทางช่องคลอด
ผลการตรวจความเข้มข้นของเลือดไม่ลดลง
สีหน้าและเยื่อบุตาไม่ซีด
กิจกรรมการพยาบาล
ตรวจคลึงมดลูกด้วยท่าที่นุ่มนวลและแนะนำการคลึงมดลูกและวิธีการวัดยอดมดลลูกที่ถูกต้อง โดยปกติมดลูกจะลดลง 0.5 - 1 นิ้ว เพื่อกระตุ้นให้กล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัวเป็นระยะๆ เส้นเลือดส่วนปลายปิดลดการเสียเลือด ช่วให้มดลูกเข้าอู่ได้เร็วและกระตุ้นการหลั่งของน้ำนม
ตรวจดูและไล่ก้อนเลือดหรือลิ่มเลือด เศษรกและเยื้อหุ้มทารกที่ค้างในโพรงมดลูกออก เพื่อลดสิ่งขัดขวางการหดตัวของมดลูก สังเกตปริมาณ ลักษณะ เลือดที่ออกจากช่องคลอด และตรวจลักษณะแผลฝีเย็บพร้อมเย็บซ่อมแซมแผลฝีเย็บ
ตรวจสภาพกระเพาะปัสสาวะ เพื่อให้กระเพาะปัสสาวะว่างเป็นการลดสิ่งขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูกมดลูกจะหดรัดตัวดีขึ้น อาการเลือดออกจะลดลงและเป็นการประเมินภาวะขาดน้ำจากการเสียเลือด และประเมินการทำงานของไต
จัดให้มารดานอนพักบนเตียง เพื่อลดการใช้พลังงาน ถ้าเลือดออกมากจัดให้นอนในท่าศีรษะต่ำ เพื่อให้เลือดไปเลี้ยงสมองอย่างเพียงพอ เป็นการป้องกันสมองขาดเลือด
ถ้าเลือดออกทางช่องคลอดมากผิดปกติ เลือดออกเป็นลิ่มๆ มีอากรหน้ามืด วิงเวียนคล้ายจะเป็นลมมีการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ อาการอาการแสดงที่บงบอกอาการตกเลือดที่เลวลง รายงานแพทย์
การประเมินผล
4/2/65
สัญญาณชีพ
BT 36.7 องศาเซลเซียส
PR 86 ครั้งต่อนาที
RR 18 ครั้งต่อนาที
BP 110/80 mmHg
ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี พูดคุยรู้เรื่อง ดูเหนื่อย อ่อนเพลีย
มดลูกขนาด 4.5 นิ้ว ต่ำกว่าสะดือ กลมแข็ง
ไม่มีเลือดออกเพิ่ม ไม่มีลิ่มเลือด
ผลตรวจของความเข้มข้นของเลือด ยังไม่ตรวจ
เสี่ยงต่อการติดเชื้อ เนื่องจากมีแผลบริเวณอวัยวะสืบพันธ์ุและโพรงมดลูก
ข้อมูลสสนับสนุน
SD : ผู้ป่วยบอกว่าปวด 2 คะแนน
OD :
ผู้ป่วยมีแผลที่บริเวณฝีเย็บที่ระดับ 2
ผู้ป่วยมีแผลที่ปากมดลูก
ผู้ป่วยมี tear cervix
วัตถุประสงค์
ไม่เกิดการติดเชื้อที่แผลฝีเย็บและโพรงมดลูก
เกณฑ์การประเมิน
สัญญาณชีพ อยู่ในเกณฑ์ปกติ
BT 36.5 - 37.4 องศาเซลเซียส
PR 60 - 100 ครั้งต่อนาที
RR 18 ครั้งต่อนาที
BP 90 - 120/60 - 90 mmHg
pain score 0 คะแนน
ประเมินแผลฝีเย็บตามหลัก REEDA ไม่บวม แดง ไม่มีเลือดคั่ง ไม่มี discharge
น้ำคาวปลาปกติ สีแดง ไม่มีกลิ่นเหม็น
ระดับยอดมดลูกอยู่ในเกณฑ์ปกติ
มดลูกลดลงประมาณ 0.5 - 1 นิ้วต่อวัน
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินลักษณะของแผลฝีเย็บตามหลัก REEDA และน้ำคาวปลา ดูลักษณะสี จำนวนครั้งของการเปลี่ยนผ้าอนามัย ปริมาณที่ออกมา
ดูแลและแนะนำการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ ทุกครั้งหลังถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ โดยการเช็ดทำความสะอาดจากด้านหน้าไปด้านหลังไม่เช็ดย้อนไปมาและไม่กลั้นปัสสาวะ เพราะจะทำให้นำเชื้อจากทวารหนักเข้าสู่ช่องคลอดและแผลฝีเย็บทำให้เกิดการติดเชื้อได้
แนะนำให้เปลี่ยนผ้าอนามัยทุกครั้งที่น้ำคาวปลาเปียกชุ่ม
หรือทุก 2-3 ชั่วโมง อย่าปล่อยให้น้ำคาวปลาหมักหมมจะเป็น
แหล่งเพาะเชื้อ ก่อให้เกิดการติดเชื้อได้
จัดหาและแนะนำให้รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง เช่น เนื้อสัตว์ ไข่ นม ถั่ว ผักและผลไม้เพราะอาหารที่มีโปรตีนและวิตามินซีจะช่วยในการซ่อมแซมเนื้อเยื่อช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น
ตรวจวัดระดับยอดมดลูกทุกวันในช่วงเวลาเดียวกัน
เพื่อประเมินการติดเชื้อในโพรงมดลูกและก่อนตรวจให้มารดา
หลังคลอดถ่ายปัสสาวะก่อนทุกครั้ง
ตรวจและบันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะอุณหภูมิร่างกาย ถ้ามีไข้จะบ่งบอกถึงมีอาการติดเชื้อ
ภายหลังการทำความสะอาดแล้วควรซับให้แห้ง ไม่ควรใช้แป้ง ครีม หรือขี้ผึ้งทา
แนะนำให้ผู้ป่วยไปอาบน้ำและทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ที่ห้องน้ำ
การประเมินผล
(4/2/65)
สัญญาณชีพ
BT 36.7 องศาเซลเซียส
PR 86 ครั้งต่อนาที
RR 18 ครั้งต่อนาที
BP 110/80 mmHg
pain score 2 คะแนน
ฝีเย็บ ประเมินตามหลัก REEDA ไม่แดง ไม่บวม ไม่มีคั่งเลือด
ไม่มี hematoma ไม่มี discharge ขอบแผลชิดติดกันดี
คะแนนความปวด 2 คะแนน
น้ำคาวปลามีสีแดง (lochia rubra) ชุ่มผ้าอนามัย 1 แผ่น และเปลี่ยนผ่าอนามัย 2 แผ่น รวมประมาณ 40 มล.
ไม่มีกลิ่นเหม็น ไม่มีริดสีดวงทวาร
มดลูกหดรัดตัวดี กลมแข็งเล็กน้อย อยู่ต่ำกว่าระดับสะดือ ระดับของยอดมดลูก วัดจาก symphysis pubis จนถึงยอดมดลูก ประมาณ 4.5 นิ้ว ความปวดบริเวณมดลูก 2 คะแนน
มารดามีภาวะไม่สุขสบาย เนื่องจากปวดแผลฝีเย็บ ปวดมดลูก
ข้อมูลสนับสนุน
SD : ผู้ป่วยบอกว่าปวดแผลฝีเย็บและมดลูกให้คะแนน 3 คะแนน
OD :
ผู้ป่วยมีแผลฝีเย็บที่ระดับ 2
ท่าทางคุณแม่ลุกนั่ง ยืนลำบาก แสดงสีหน้าเจ็บปวด
วัตถุประสงค์
เพื่อบรรเทาภาวะไม่สุขสบาย
เกณฑ์การประเมิน
มารดาหลังคลอดปวดมดลูกและแผลฝีเย็บลดลงและมีสีหน้าสดชื่น
มารดาสามารถเคลื่อนไหวร่างกาย ลุกนั้่งได้ดีขึ้นไม่เอียงหรือสั่น
ระดับ pain score ลดลงจาก 3 คะแนน
กิจกรรมทางการพยาบาล
อธิบายให้มารดาหลังคลอดเข้าใจว่า อาการปวดของหญิง
หลังคลอดทุกราย เนื่องจากการหดรัดตัวของมดลูกตามธรรมชาติ เพื่อให้มดลูกเข้าสู่อุ้งเชิงกราน
ประเมินอาการปวด โดยสอบถามเกี่ยวกับ อาการปวดมดลูกและสังเกตลักษณะของแผลฝีเย็บว่าบวมแดงหรือไม่
จัดท่าให้สุขสบาย สอนท่าให้นมบุตร เช่น นั่งท่าฟุตบอล (Football hold), Cradle hold
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกด้วยสบู่อ่อนเช้า – เย็น ช่วยลดเชื้อโรค ทำให้แผลหายเร็ว ไม่มีการติดเชื้อและสุขสบายขึ้น
พูดคุย เบี่ยงเบนความสนใจอาจทำให้ลดอาการเจ็บปวดได้
ให้รับประทานยาบรรเทาปวด Paracetamal (500 mg) 2 เม็ด ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อลดอาการเจ็บปวดและสุขสบายขึ้น
ดูแลใช้ห่วงยางฟองน้ำรองเวลานั่งให้นมบุตร เพื่อบรรเทาอาการปวดแผลฝีเย็บ
การประเมินผล
มารดาปวดฝีเย็บและมดลูกลดลง สีหน้าสดชื่น
มารดาเคลื่อนไหวได้ดีขึ้น เอียงเล็กน้อยแต่ไม่สั้น เดินไปมาเข้าหองน้ำและหาลูกได้
ระดับ pain score ลดลงที่คะแนน 2 คะแนน
การปฏิบัติตัวหลลังกลับบ้าน
ให้ความรู้ในการเก็บน้ำนม เนื่องจากมารดามีเครื่องปั๊มนมแบบคันโยกที่บ้าน ให้มารดาปรับนมเก็บในตู้เย็น ถ้าเป็นช่องธรรมเก็บได้ 1 วัน ถ้าเป็นช่อง Freeze เก็บได้ 1 เดือนให้กินนมที่บีบก่อนสุดและควรให้นมลูกอย่างนอน 6 เดือน จะทำให้ลูกร่างกายแข็งแรงมีพัฒนาการที่ดีและเป็นไปตามวัย เมื่อมีอาการปวดใให้ปรถคงอุ่นหรือนวดบริเวณเต้านม ให้สวมเสื้อชั้นในตามขนาดของเต้านม เพื่อพยุงเต้าและเลือกใส่แบบไร้โครง
มารดาและบิดาสามารถมาพบน้องที่ SNCU ได้ทุกวัน เมื่อลูกสามารถดื่มนมแม่ได้ ให้นำมาให้ลูกด้วย เพื่อสร้างสายใยที่ดีระหว่างมารดและลูก
ตรวจสอบปัสสาวะให้ว่าง เพราะจะไปทำให้ยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูกคลึงบริเวณมดลูก โดยใช้ฝ่ามือแนบกับท้อง ใช้นิ้วคลึงบริเวณมดลูก เพื่อช่วยให้มดลูกหดรัดตัวได้ดี มดลูกเข้าอู่และยังกระตุ้นให้ prolactin สร้างน้ำนมได้มากขึ้นด้วย
แนะนำให้มารดาฝึกขมิบช่องคลอด (Kegel exercise) เพื่อช่วยให้ช่องคลอดกระชับ กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานแข็งแรง
นอนพักผ่อนให้เพียงพอ 8 - 10 ชั่วโมง งดการทำงานหนัก และงความเครียด เนื่องจากจะทำให้ผลิตน้ำนมได้ลดลง
รับประทานประเภทโปรตีน เช่น เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ นม และอาหารที่ช่วยกระตุ้นน้ำนม เช่น หัวปลี แกงเลียง ผักใบเขียว น้ำขิง ดื่มน้ำวันละ 6 - 8 แก้ว
ดูแลและแนะนำการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ ทุกครั้งหลังถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ โดยการเช็ดทำความสะอาดจากด้านหน้าไปด้านหลังไม่เช็ดย้อนไปมาและไม่กลั้นปัสสาวะ เพราะจะทำให้นำเชื้อจากทวารหนักเข้าสู่ช่องคลอดและแผลฝีเย็บทำให้เกิดการติดเชื้อได้
แนะนำให้เปลี่ยนผ้าอนามัยทุกครั้งที่น้ำคาวปลาเปียกชุ่ม
หรือทุก 2-3 ชั่วโมง อย่าปล่อยให้น้ำคาวปลาหมักหมมจะเป็น
แหล่งเพาะเชื้อ ก่อให้เกิดการติดเชื้อได้
แนะนำเรื่องการใช้ยาที่ตนเองได้รับอย่างละเอียด
สรรพคุณของยา ขนาด วิธีใช้ ข้อควรระวังในการใช้ยา ตลอดจนการสังเกตภาวะแทรกซ้อนรวมทั้งข้อห้ามการใช้ยา
Paracetamol 500 mg. รับประทานยาครั้งละ 1 เม็ด เมื่อมีอาการปวด /มีไข้ ระยะห่างอย่างน้อย 6 ชั่วโมง ทางปาก
สรรพคุณ : แก้ปวด ลดไข้ ไม่มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ
ผลข้างเคียง: คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง เหงื่อออก ง่วงซึม สับสน ความดันต่ำ หัวใจเต้นผิดจังหวะ เป็นพิษต่อตับถ้าได้รับในปริมาณมากๆ
ได้แนะนำการจัดสิ่งแวดล้อมภายในบ้านให้ที่เหมาะสมกับภาวะสุขภาพสถานที่พักผ่อนต้องปลอดโปร่ง สะอาด และปลอดบุหรี่ มีของใช้ที่สำคัญไว้ใกล้ตัวหยิบจับได้ง่ายเลี่ยงเดินในทางลาดชันและลื่น การดูแลสุขภาพให้เหมาะสม มีสถานที่ยึดเส้นยืดสายอย่างพอเหมาะไม่หักโหมมากเกินไป
ส่งเสริม ฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตของมารดาหลังคลอด ตลอดจนการป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากภาวะความดันโลหิตสูงเพื่อให้มารดามีสุขภาพที่แข็งแรง ร่างกายกลับสู่สภาพเดิมได้โดย
การออกกำลังกาย ควรทำหลังจากที่แผลหายดี และเป็นการออกกำลังกายที่ไม่หักโหมเกินไป เช่น ว่ายน้ำ โยคะ ยกเว้น คาร์ดิโอ
การดูหนัง ฟังเพลง การทำงานอดิเรกที่พึงพอใจ
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับอาการผิดปกติเบื้องต้นเมื่อกลับบ้านของทารก ที่จำเป็นต้องรีบพามาพบแพทย์เช่น ซึม ไม่ดูดนม อาเจียน มีไข้ ถ่ายอุจจาระเป็นน้ำมีมูกเลือดปน เป็นต้น
เน้นให้เห็นความสำคัญของการพาทารกมาตรวจตามนัด
ติดต่อประสานงานแผนกงานการพยาบาลป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ ให้ติดตามเยี่ยม
บ้าน หากประเมินได้ว่าจะมีปัญหาในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
(2/2/65)
Hb 11.5 g/dl
Hct : 37.1 %
MCV 65.2 fl
ปกติ
ผลตรวจภูมิคุ้มกัน
HBs Ag :Negative
HIV Ab :Non reactive
VDRL (RPR) :Non reactive
Screening Test for Thalassemia Hb E Screening (DCIP) :Negative
นศพต. จันทร์จิรา ส่องสพ ชั้นปีที่ 3 เลขที่ 7