Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Lower Gastrointestinal Bleeding:LGIB - Coggle Diagram
Lower Gastrointestinal Bleeding:LGIB
ความหมาย
การที่มีเลือดออกจาก lesion ที่อยู่ในทางเดินอาหารตั้งแต่ ligament of Treitz ลงไป ได้แก่ jejunum, ileum, colon, rectumและ anus
พยาธิสภาพ
เกิดจากการยื่นของชั้นmucosaและsubmucosaออกผ่านชั้น muscularis propria โดยยื่นออกจากตำแหน่งvasa ractaแทงทะลุผ่านเกิดbleeding diverticulumที่เกิดจากvasa racta ที่บริเวณdiverticulumได้รับบาดเจ็บทำให้เกิดทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของเส้นเลือดดังกล่าง คือintima hyperplasia ร่วมกับmedia thinning เกิดการอ่อนแอผนังเส้นเลือดทำให้เกิดภาวะเลือดออกเข้าไปที่lumen ของdiverticulum
อาการและอาการแสดง
อุจจาระออก เป็นเลือดสดหรือเป็นสีดำปนแดง(maroon stool) หากสาเหตุของเลือดที่ออกอยู่ในleft-sided colon ก็จะทำให้เลือด
มีลักษณะเป็นสีแดงสด
ถ้าออกมาจาก right-sided colon ก็จะมีสีคล้ำ ปนสีดำ
มากกว่าภาวะ LGIB อาจทำให้มี melena ได้หากมีเลือดออก
จาก cecum หรือตำแหน่งที่อยเู่หนือกว่าหรืออาการด้วยอาการอื่นๆ เช่น อ่อนเพลีย หน้ามืด เป็นลม เหนื่อยง่าย
กรณีศึกษา
-ผู้ป่วยมาโรงพยาบาลด้วยอาการถ่ายอุจจาระแดงปนดำ ปริมาณมาก 4-5ครั้ง ญาติมาพบบอกว่าผู้ป่วยเบ่งถ่ายเป็นเลือด เป็นลมหมดสติ มีอาการอ่อนเพลียญาติจึงพามาโรงพยาบาล
สาเหตุ
โรคที่มีการอักเสบของระบบทางเดินอาหาร
ประกอบไปด้วยโรคลำไส้ใหญ่อักเสบเรื้อรัง(ulcerative colitis) ซึ่งเป็นการอักเสบที่เยื่อบุผิวบริเวณลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง และโรคโครห์นที่เป็นการอักเสบของเยื่อบุในระบบทางเดินอาหาร
โรคถุงผนังลำไส้อักเสบ(Diverticulitis)
เป็นการอักเสบหรือติดเชื้อของกระเปาะที่โป่งออกผิดปกติของเยื่อบุลำไส้ใหญ่ จึงอาจส่งผลให้มีเลือดออกมา
กรณีศึกษา
-ถ่ายอุจจาระเป็นเลือดปนสีดำแดง
-ซักประวัติผู้ป่วยบอกมีเคยท้องผูกมีอุจจาระแข็ง
เนื้องอก(Neoplasm)
ทำให้เยื่อบุในระบบทางเดินอาหารบางลงและมีเลือดออกได้
ริดสีดวงทวารหรือการโป่งพองของเส้นเลือด
เกิดเส้นเลือดดำที่ปลายสุดลำไส้ใหญ่และทวารหนักโปร่งพองมีการยื่นออก เกิดจากการฉีกขาด แตกออก มีเลือดทำให้มือาการถ่ายเป็นเลือด
แผลรอยแยกขอบทวารหนัก (Anal Fissure)
มีการฉีกขาดที่กล้ามเนื้อบริเวณหูรูดมักเกิดจากการท้องผูกหรืออุจจาระแข็ง
สาเหตุอื่นๆ
การรับประทานยาแก้ปวด การรับประทานอาหาร ความเครียด และการดื่มแอลกอฮอล์
กรณีศึกษา
-ผู้ป่วยปฏิเสธการใช้ยาแก้ปวด
-ผู้ป่วยบอกเรื่องเครียดเรื่องเงินและเรื่องอื่นๆ
-ผู้ป่วยไม่สูบบุหรี่มีดื่มแอลกอฮอล์เป็นบางครั้งเมื่องานโอกาสสำคัญ
-ผู้ป่วยรับประทานอาหารเผ็ดเล็กน้อย
การวินิจฉัย
1.ซักประวัติ
สุขภาพและโรคประจำตัว ภาวะเลือดออกง่ายประวัติการใช้ยาที่ทำให้เลือดออกง่าย เช่น aspirin และ NSAID, anticoagulant, antiplatelet
-ลักษณะของเลือดในอุจจาระจำนวนที่ออกแต่ละครั้ง
จำนวนครั้ง มีหรือไม่มีมูก หรือมีหนองปน เลือดติดอยู่บนผิวอุจจาระ การถ่ายอุจจาระ ท้องผูกท้องเสีย ถ่ายเละหรือถ่ายแข็ง จำนวนครั้งต่อวัน อาการร่วม ท้องอืด ปวดมวนท้อง ปวดแสบที่ขอบทวาร
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยปฏิเสธการใช้ยาแก้ปวด ผู้ป่วยมาโรงพยาบาล
มีอาการปวดท้อง ถ่ายเป็นเลือดแดงดำ ไม่มีอาเจียนเป็นเลือด ถ่าย4-5ครั้ง
-U/D เป็นไทรอยด์มา5ปี รักษาต่อเนื่อง
-ไม่ประวัติแพ้ยา แพ้อาหาร ไม่เคยสูบบุหรี่ มีดื่มแอลกอฮอล์บ้างบางครั้ง
2. การตรวจร่างกายทั่วไป
ตรวจภาวะการมีเลือดออกง่าย และโลหิตจาง มีไข้ ภาวะตับหรือไตวาย และตรวจ ความผิดปกติที่ช่องท้อง เช่น อาการท้องอืด ก้อนในท้อง ท้องกดเจ็บ หรือเกร็งแข็ง
การตรวจลำไส้ใหญ่ทวารหนัก
-ใช้นิ้วมือสอดตรวจในทวารหนัก (PR)
กรณีศึกษา
-ตรวจPR พบmaroon stoolไม่มี hemorrhoid
-ตรวจร่างกายผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลีย ผิวซีด ริมฝีปากแห้ง เยื่อบุตาซีด
capillary refill test มากกว่า2 วินาที
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เพื่อประเมินการทำงานของไตและความเข้มข้นของเลือด
-Complete blood count (CBC)
-ฺBUN,Creatinine
-electrolytes
กรณีศึกษา
29/1/2565
BUN 11 mg/dL
Creatinine 0.57 mg/dL
WBC 10.36 10^3/uLสูงกว่าปกติ
RBC 4.10 10^6/uLต่ำกว่าปกติ
Hb 8.7g/dLต่ำกว่าปกติ
Hct29.1 %ต่ำปกติ
Neutrophil 76.4% สูงกว่าปกติ
Lymphocyte19.0% ต่ำกว่าปกติ
Eosinophil0.5% ต่ำกว่าปกติ
4.การตรวจพิเศษ
-ใส่ nasogastric tube และล้างกระเพาะด้วยน้ำเกลือ เพื่อตรวจหาสาเหตุที่อาจมีอยู่ในกระเพาะหรือ duodenum
-Visceral angiography ช่วยให้เห็นความผิดปกติที่ทำให้เลือดออกและเห็นตำแหน่งที่เลือดออก Proctoscopy, sigmoidoscopy Colonoscopy Biopsy
กรณีศึกษา
ทำ NG lavage ออกมา220 clear มีเศษอาหารคาสาย
-colonoscopy วันที่2/2/2565 ผลปรากฏลำไส้บริเวณcecumพบ clean ulcers at cecum with ulcerproliferative lesion
-มีทำBiopsy ชิ้นเนื้อไปส่งตรวจ1ขอด
การรักษา
1.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและเลือด เพื่อทดแทนสารน้ำ
ที่สูญเสียไป
2.ใส่สายทางจมูก และล้างกระเพาะอาหารเพื่อดูว่ามีเลือดออกทางเดินอาหารส่วนต้นหรือไม่
3.ติดตามค่าHematocrit และHemoglobin
4..ดูแลช่วยเหลือในการตรวจวินิจฉัย โดยส่งผู้ป่วยทำgastroscopy และcolonoscopeเพื่อได้การรักษาที่ถูกต้อง
กรณีศึกษา
1.ผู้ป่วยได้รับสารน้ำAcetar 1000ml IV drip 100ml/hr และได้รับPRC2U
2.ทำNG lavageได้วันที่29/1/2565 ออก220 clear มีเศษ
อาหารคาสาย
3.ค่าHematocrit และHemoglobinวันที่29/1/2565
Hb 8.7g/dL มีค่าต่ำกว่าปกติ
Hct 29.1% มีค่าต่ำปกติ
4.ทำcolonoscopeเมื่อวันที่2/2/2565พบclean ulcers at cecum with ulcerproliferative lesion