Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปกลุ่มที่2 การบริหารงานการเงิน บัญชีและพัสดุ - Coggle Diagram
สรุปกลุ่มที่2
การบริหารงานการเงิน บัญชีและพัสดุ
การบริหาร
การบัญชี
ความหมาย
การบริหารการบัญชีว่า มีขอบข่าย ภารกิจ ประกอบด้วย การจัดทําบัญชีการเงิน การจัดทํารายงานทางการเงิน การจัดทํา และจัดหาแบบพิมพ์บัญชี ทะเบียน และรายงาน
การจัดทําบัญชีการเงิน
บันทึกเปิดบัญชีคงค้าง (พึงรับพึงจ่าย) โดยบันทึกรายการด้านเดบิตใน บัญชีแยกประเภท สินทรัพย์และค่าใช้จ่าย) และบันทึกรายการด้านเดบิตในบัญชี แยกประเภท (หนี้สิน ทุน รายได้)
บันทึกบัญชีประจําวัน ให้ครอบคลุมการรับเงินทุกงบประมาณ
สรุปรายการบันทึกบัญชีทุกวันทําการ สรุปรายการรับหรือจ่ายเงินผ่านไป บัญชีแยกประเภทเงินสด เงินฝากธนาคาร และเงินฝากคลัง สมุดรายงานทั่วไปให้ ผ่านรายการเข้าบัญชีแยกประเภท ณ วันทําการสุดท้ายของเดือน
ตรวจสอบความถูกต้องของตัวเงินสดและเงินฝากธนาคารตามรายงาน คงเหลือ ประจําวัน และงบพิสูจน์ยอดฝากธนาคาร
การจัดทํารายงานการเงินและงบการเงิน
จัดทํารายงานประจําเดือนส่งหน่วยงานต้นสังกัด สํานักงานตรวจเงิน แผ่นดินและกรมบัญชีกลาง ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป
จัดทํารายงานประจําปี โดยจัดทํางบแสดงฐานะการเงิน จัดทํางบแสดงผล การดําเนินงานทางการเงิน
การบริหารจัดการพัสดุ
ด้านบุคลากร
มีความซื่อสัตย์เป็นธรรม โปร่งใส ตรวจสอบได้ ไม่เอื้อหรือรับผลประโยชน์จากผู้รับจ้าง
ผลงานมีประสิทธิภาพ มีประสิทธิผล
ปฏิบัติงานได้ตามความรู้ความสามารถ มีความชํานาญงาน ยึด กฎ ระเบียบ ข้อบังคับฯ
จัดบุคลากรให้เหมาะสมกับงานกับหน้าที่ที่มีความเหมาะสม
ด้านทรัพยากร
มีการวางแผนในการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ไม่ฟุ่มเฟือยทั้งเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ
ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ มติครม.ฯ
ตรวจรับสิ่งของตามที่ได้มีการส่งมอบอย่างถูกต้องและครบถ้วน ตามเงื่อนไขที่กําหนด เช่น ระยะเวลาของการส่ง มอบ จํานวน/ปริมาณของสินค้า ตรงตามสเปค
การจัดหาพัสดุ
การจัดหาพัสดุ (Procurement) มีความหมายกว้าง คลุมไปถึงการเช่า การซ่อม การผลิตขึ้นมาเอง การ เปลี่ยน โอน และอื่น ๆ ให้ได้มาซึ่งพัสดุและอุปกรณ์ที่ ต้องการใช้ ไม่ได้หมายถึงการซื้อเพียง อย่างเดียว
คุณสมบัติผู้เสนอราคา
1.ผู้เสนอราคาต้องเป็นผู้มีอาชีพขายหรือรับจ้าง
2.ผู้เสนอราคา (ตาม มติคณะรัฐมนตรี กําหนดว่าด้วยงานจ้างก่อสร้างที่มีวงเงินตั้งแต่ 1 ล้านบาทขึ้นไปจะต้องเป็นนิติบุคคล)
3.ผลงานของผู้เสนอราคา ให้อยู่ในดุลยพินิจของส่วนราชการที่จะกําหนดได้ตาม เหตุผลและความจําเป็น คือ กําหนดได้ไม่เกิน 50% ของวงเงินงบประมาณที่จะใช้ใน การดําเนินการครั้งนั้น
4.ไม่เป็นผู้ถูกระบุชื่อไว้ในบัญชีรายชื่อผู้ทิ้งงานของทางราชการ
5.ต้องไม่เป็นผู้มีผลประโยชน์ร่วมกันกับผู้เสนอราคารายอื่น
6.ผู้เสนอราคาต้องไม่เป็นผู้รับเอกสิทธิ์หรือความคุ้มกัน
หน้าที่ของคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา
ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคา
พิจารณาคัดเลือกสิ่งของหรืองานจ้าง
รายงานผลการพิจารณาและความเห็น
หลักกฎหมายทั่วไป
ทางการงบประมาณ
งบประมาณ (Authoritativeness)
หลักระยะเวลาหนึ่งปีของงบประมาณ (Annual Basis)
หลักรายได้ต้องมีลักษณะทั่วไป (Universality)
หลักความเป็นเอกภาพของงบประมาณ (Unity)
หลักรายจ่ายต้องมีลักษณะเฉพาะเจาะจง (Specificity
หลักดุลยภาพของงบประมาณ (Balance)
หลักการตรวจสอบได้ (Accountability)
หลักความโปร่งใส (Transparency)
หลักเสถียรภาพ (Stability or Predictability)
หลักประสิทธิภาพ (Performance or Efficiency, Economy and Effectiveness)