Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาระบบภูมิคุ้มกัน - Coggle Diagram
ยาระบบภูมิคุ้มกัน
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะ
การรับวัคซีนต้องชี้แจงแพทย์ก่อนว่าได้รับการปลูกถ่ายไต
ระวังเรื่องการตากแดดเป็นเวลานาน เพราะผู้ป่วยที่ผ่านการปลูกถ่ายไตยังมีภูมิคุ้มกันไม่แข็งแรง ไม่สามารถซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอจากรังสีอัลตราไวโอเลตได้ และมีความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งผิวหนังมากกว่าคนทั่วไป
ระวังอย่าให้แผลเปียกน้ำ และคอยสังเกตแผลสม่ำเสมอ หากบวมแดงควรพบแพทย์
ผู้ที่ผ่านการปลูกถ่ายไต จะได้รับยากดภูมิและยาสเตียรอยด์ ส่งผลให้ไขมันในเลือดสูง และความดันในเลือดสูง จึงต้องระวังเรื่องอาหารการกินช่วงแรก ยังต้องหลีกเลี่ยงอาหารรสเค็ม ทางที่ดีควรรับประทานอาหารรสจืด
หลีกเลี่ยงการยกของหนักเกิน 10 กิโลกรัม เพราะแผลยังไม่สนิท อาจฉีกขาดได้
ต้องคอยติดตามการรักษาตามแพทย์นัดสม่ำเสมอ
ระวังเรื่องการติดเชื้อในช่วงแรกหลังปลูกถ่ายไต ด้วยการดูแลกิจวัตรประจำวัน เน้นเรื่องความสะอาดของ อากาศอาหารและน้ำดื่มเป็นหลัก โดยเฉพาะช่วง 3 เดือนแรก
สามารถออกกำลังกายได้ แต่ต้องระวังกีฬาที่มีการปะทะหรือเสี่ยงต่อการกระแทกช่องอกและช่องท้อง เช่น ชกมวย เตะบอล เป็นต้น สามารถว่ายน้ำได้ แต่ช่วงแรกต้องระวังเรื่องแผลที่ยังไม่แห้ง
ระบบภูมิคุ้มกันแต่กําเนิด (Innate immunity)
External barriers : skin, mucous, washing fluid etc.
Molecule : complement, cytokine
มีความจําเพาะเจาะจงต่ํา
Inflammatory mediator : basophil, mast cell, eosinophil,
NK cell
พร้อมใช้งานได้ทันที
Phagocytic cells : neutrophil, monocyte, macrophage
หลักการพื้นฐานของระบบภูมิคุ้มกัน
การปลูกถ่ายอวัยวะ
การปลูกถ่ายอวัยวะจากผู้บริจาคไปยังผู้รับบริจาคที่มีลักษณะทางพันธุกรรมแตกต่างกันจะทําให้เกิดการกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันภายในร่างกายของผู้รับต่ออวัยวะใหม่ที่ทําการปลูกถ่าย
ประเภทของผู้บริจาค
ผู้บริจาคที่มีชีวิต Living Donor
ผู้บริจาคสมองตาย Cadaveric Donor (Deceased Donor)
การกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันจะกระตุ้นทั้ง T-Cell และ B-Cell ใน
ร่างกายของผู้รับ
Cross-matching (การตรวจความเข้ากันได้)
ABO matching (การตรวจความเข้ากันได้ของหมู่เลือด)
HLA matching (การตรวจความเข้ากันได้ของเนื้อเยื่อ)
ยากดภูมิที่มีใช้อยู่ในปัจจุบันส่วนใหญ่ออกฤทธิ์ต่อ T-Cell
ระบบภูมิคุ้มกันชนิดรับมา (Adaptive immunity)
Humoral immune response (HIR) : B lymphocyte, Memory B
lymphocyte, plasma cell and antibody
Cell mediate immune response (CMIR) : Effector T cell ,Regulatory T cell (Treg) , Memory T cell
มีความจําเพาะเจาะจงสูงกว่า
ถูกกระตุ้นเมื่อได้รับสิ่งแปลกปลอม
อย่างเฉพาะเจาะจง
ยากดภูมิคุ้มกันของร่างกาย
Calcineurin Inhibitors (CNIs)
ยาไซโคลสปอรีน (Cyclosporine)
ยาทาโครลิมัส (Tacrolimus หรือ FK 506)
Antiproliferative agents
ยามายโคฟีโนลิค แอซิด (MMF/EC-MPS)
Mamalian target of rapamycin inhibitors
(mTOR inhibitors)
ยาซัยโรลิมัส (Sirolimus)
ยาเอเวอโรลิมัส (Everolimus)
Corticosteroids
สารปรับปรุงภูมิคุ้มกัน (immunomodulators)
Immunosuppression เป]นการลดการทํางานของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายหรือกดภูมิคุ้มกันไว้ด้วยการให้สารหรือยาเข้าไปในร่างกาย
Immunostimulation เป็นการกระตุ้นภูมิคุุ้มกันร่างกายด้วยการใส่สาร
บางอย่างเข้าไป เช่น การฉีดวัคซีน การให้ immunoglobulin
Immunomodulators คือ ยา หรือ สารเคมีบางอย่างที่เข้าสู่ร่างกายแล้วมีผลกระตุ้น (stimulation) หรือยับยั้ง (suppression) ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ปัญหาจากการใช้ยาที่พบบ่อยในผู้ป่วยปลูกถ่ายอวัยวะ
การเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (Adverse drug reaction)
การเกิดอันตรกิริยาระหว่างยา (Drug interaction)
ปัญหาความร่วมมือในการรับประทานยา (Compliance problem)
ยากดภูมิคุ้มกันสําหรับผู้ป่วยปลูกถ่ายอวัยวะ
เป้าหมายการให้ยากดภูมิคุ้มกัน
เพิ่มอัตราการรอดของอวัยวะ (graft survival)
เพิ่มอัตราการรอดของผู้ป่วย (patient survival)
ป้องกันการเกิดภาวะต่อต้านอวัยวะ (acute rejection)
เพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยให้ดีขึ้น
Induction Phase
ผู้ป่วยเด็ก
ผู้ป่วยที่มีความผันแปรของระบบภูมิคุ้มกันสูงเช่น HLA mismatch,ได้รับเลือดมาก่อน
ผู้ป่วยเชื้อสาย African American
ปลูกถ่ายอวัยวะซ้ำ (Re-transplantation)
ยากดภูมิคุ้มกันในระยะ induction
Monoclonal antibodies
Polyclonal antibodies; Antithymocyte globulin