Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Basic immunology Immunomodulators and Immunosuppressive drugs - Coggle…
Basic immunology Immunomodulators
and
Immunosuppressive drugs
ระบบภูมิคุมกันพื้นฐานของร่างกาย
ระบบภูมิคุมกันแต่กําเนิด (Innate immunity)
มีความจําเพาะเจาะจงตํ่า
ประกอบไปด้วย
Molecule
complement
cytokine
Inflammatory mediator
basophil
mast cell
eosinophil
NK cell
External barriers
skin
washing fluid etc.
mucous
Phagocytic cells
neutrophil
monocyte
macrophage
พร้อมใช้งานได้ทันที
ระบบภูมิคุมกันชนิดรับมา (Adaptive immunity)
มีความจําเพาะเจาะจงสูงกว่า
ประกอบไปด้วย
Humoral immune response (HIR)
Memory B lymphocyte
plasma cell and antibod
B lymphocyte
Cell mediate immune response (CMIR)
Regulatory T cell (Treg)
Memory T cell
Effector T cell
ถูกกระตุ้นเมื่อได้รับสิ่งแปลกปลอม
อย่างเฉพาะเจาะจง
Immunity response
Immunosuppression
เป็นการลดการทํางานของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายหรือกดภูมิคุ้มกันไว้ด้วยการให้สารหรือยาเข้าไปในร่างกาย
Immunostimulation
เป็นการกระตุ้นภูมิคุ้มกันร่างกายด้วยการใส่สาร
บางอย่างเข้าไป
การฉีดวัคซีน การให้ immunoglobulin
Immunomodulators
ยา หรือ สารเคมีบางอย่างที่เข้าสู่ร่างกายแล้วมี
ผลกระตุ้น (stimulation) หรือยับยั้ง (suppression) ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
หลักการพื้นฐานของระบบภูมิคุ้มกันการปลูกถ่ายอวัยวะ
Cross-matching (การตรวจความเข้ากันได้)
ABO matching (การตรวจความเข้ากันได้ของหมู่เลือด)
HLA matching (การตรวจความเข้ากันได้ของเนื้อเยื่อ)
HLA (Human leukocyte antigen) matching
Subtype A B และ DR จะมีความสําคัญต่อการปลูกถ่ายอวัยวะ
HLA เป็นตําแหน่งของยีนบนโครโมโซมคู่ที่ 6 แบ่งย่อยๆออกเป็นClass I และ Class Iและในแต่ละ Class จะแบ่งย่อยออกเป็นแต่ละ subtypeI
การปลูกถ่ายอวัยวะจากผู้บริจาคไปยังผู้รับบริจาคที่มีลักษณะทางพันธุกรรมแตกต่างกันจะทําให้เกิดการกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันภายในร่างกายของผู้รับต่ออวัยวะใหม่ที่ทําการปลูกถ่าย
การกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันจะกระตุ้นทั้งT-Cell และ B-Cell ใน
ร่างกายของผู้รับ
ยากดภูมิที่มีใช้อยู่ในปัจจุบันส่วนใหญ่ออกฤทธิ์ต่อ T-Cell
Kidney transplantation
ประเภทของผู้บริจาค
ผู้บริจาคที่มีชีวิต Living Donor
ผู้บริจาคสมองตาย Cadaveric Donor (Deceased Donor)
ยากดภูมิคุ้มกันสําหรับผู้ป่วยปลูกถ่ายอวัยวะ
เป้าหมายการให้ยากดภูมิคุ้มกัน
เพิ่มอัตราการรอดของอวัยวะ (graft survival)
เพิ่มอัตราการรอดของผู้ป่วย (patient survival)
ป้องกันการเกิดภาวะต่อต้านอวัยวะ (acute rejection)
เพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยให้ดีขึ้น
แบ่งออกเป็นการให้ยา 2 ระยะ
Induction Phase
Maintenance Phase
Induction Phase
High risk for rejection
ปลูกถ่ายอวัยวะซํ้า(Re-transplantation)
ผู้ป่วยเชื้อสาย African American
ผู้ป่วยเด็ก
ผู้ป่วยที่มีความผันแปรของระบบภูมิคุ้มกันสูง
ยากดภูมิคุ้มกัน ในระยะ
Polyclonal antibodies ; Antithymocyte globulin
Monoclonal antibodies
Calcineurin Inhibitors (CNIs)
Cyclosporine (CsA)
Tacrolimus (FK 506)
ยาไซโคลสปอรีน (Cyclosporine)
ยาทาโครลิมัส (Tacrolimus หรือ FK 506)
Antiproliferative agents
Mycophenolic acid Cellcept®
Azathioprine (AZA)
ยามายโคฟีโนลิค แอซิด (MMF/EC-MPS)
Mamalian target ofrapamycin inhibitors(mTOR inhibitors)
Sirolimus (Rapamune®)
Everolimus (Certican®)
ยาซัยโรลิมัส (Sirolimus)
ยาเอเวอโรลิมัส (Everolimus)
ปัญหาจากการใช้ยาที่พบบ่อยในผู้ป่วยปลูกถ่ายอวัยวะ
ปัญหาความร่วมมือในการรับประทานยา(Compliance problem)
ผู้ป่วยไม่ทราบถึงความสําคัญ และข้อบ่งชี้ของยากดภูมิคุ้มกัน
ปัญหาด้านการเงิน
ไม่รับประทานยา หรือไม่เห็นความสําคัญของยาที่มีผลเพิ่มระดับยาในเลือด
การเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา(Adverse drug reaction)
การเกิดอันตรกิริยาระหว่างยา(Drug interaction)
Drug-Food interaction
Drug-Herbal interaction
Drug-Drug interaction
Drug-Disease interaction
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะ
Transplantation ward
Post-op day 3
Post-op day 7
Admit
Discharge
Discharge Counseling
Post Transplant Clinic (OPD)
Take Home Message
ยาหรือสารที่มีผลต่อระบบภูมิคุ้มกัน เรียกว่าImmunomodulatorsซึ่งอาจมีผลไปลด(suppress) หรือเพิ่ม (stimulant) การทํางานของระบบภูมิคุ้มกัน
การปลูกถ่ายอวัยวะเป็นการรักษาผู้ป่วยที่มีการเสื่อมของอวัยวะทําให้ผู้ป่วยมีชีวิตที่ยืนยาวและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ระบบภูมิคุ้มกันแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักได้แก่ ภูมิคุ้มกันแต่กําเนิด และ ภูมิคุ้มกันชนิดรับมา
การปลูกถ่ายอวัยวะที่มีการทําในประเทศไทยได้แก่ ปลูกถ่ายตับ ไต หัวใจ ปอด ตับอ่อน
ปัจจัยหนึ่งที่สําคัญทําให้อัตราการอยู่รอดของผู้ป่วยและอวัยวะสูงขึ้นคือ ความร่วมมือของผู้ป่วยในการรับประทานยากดภูมิคุ้มกัน ซึ่งต้องรับประทานไปตลอดชีวิต