Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Diabetic ketoacidosis (DKA) - Coggle Diagram
Diabetic ketoacidosis (DKA)
พยาธิสภาพและกลไก
ภาวะ DKA มีความสัมพันธ์กับการใช้ Insulin ในร่างกาย เมื่อร่างกายขาด Insulin หรือมีปริมาณไม่เพียงพอต่อความต้องการที่เพิ่มขึ้น
ร่างกายลดการใช้กลูโคส และเพิ่มการสร้างกลูโคส
ปัสสาวะบ่อย
ภาวะขาดน้ำและเกลือแร่
ปริมาณไหลเวียนเลือดลดลง
ความดันโลหิตต่ำ
เนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
ภาวะช็อค
เมตาบอลลิซึมของไขมันและโปรตีน (สูง)
คีโตน (สูง)
กรดไขมันและกรดอะมิโน (สูง)
ระดับน้ำตาลในเลือดสูง
ข้อมูลกรณีศึกษา ผู้ป่วยมีโรคประจำตัว โรคเบาหวาน ความดัน ไขมัน จากผลทางห้องปฏิบัติการ(วันที่ 21ม.ค.65) พบว่า ค่าDTX 561mg/dL, Blood ketone=4.1mmol/L(ค่าปกติ<0.6mmol/L)
อาการสำคัญ มีไข้ ซึม เพ้อ 1 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล
การรักษา DKA
การบริหารสารน้ำทดแทนใช้ 0.9 % Nacl เพราะ DKA มักขาดสารน้ำประมาณ 6 ลิตร และประเมินสัญญาณชีพร่วมกับปริมาณปัสสาวะทุกชั่วโมง
ควรประเมินผู้ป่วยก่อนการรักษา
อาการปัจจุบัน (21 มกราคม 2565)
ผู้ป่วยมีไข้ ซึม E1V1M5 ถูกผูกยึดบริเวณแขนทั้ง 2 ข้าง รับประทานอาหารได้เอง สามารถพักผ่อนได้ ขับถ่ายได้เอง ปัสสาวะสีเหลืองใส อุจจาระ 1 ครั้ง ไม่มีถ่ายเหลว
สัญญาณชีพ BP : 140/108 mmHg. RR: 22/min HR: 100/min T: 39.0 °C Blood Lactate วันที่ 21/1/2565 5.4 (ค่าปกติ 1.0-1.8), Blood Ketone วันที่ 21/1/2565 4.1 (ค่าปกติ <0.6) วันที่ 22/1/2565 0.6 (ค่าปกติ <0.6) วันที่ 23/1/2565 1.4 (ค่าปกติ <0.6)
การบริหารอินซูลิน (Regular insulin : RI)
ฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
180-220 RI 4 Unit SC
301-350 RI 10 Unit SC
261-300 RI 8 Unit SC
221-260 RI 6 Unit SC
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
5% DN/2 + KCL 40 mEq 1000 ml IV 80 ml/hr
Insulin 100 Unit + Nass 100 ml (1:1) IV rale 6 ml/hr
การให้สารฟอสเฟต
DKA มักพบว่าร่างกายขาดฟอสเฟตประมาณ 1 มิลลิโมล/กิโลกรัม จึงอาจมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงหรือ
ทำให้เกิดภาวะ rhabdomyolysis ขึ้นได้ แต่การชดเชยสารฟอสเฟตเข้าสู่ร่างกายก็พบว่าไม่มีประโยชน์มากนัก อีก
ทั้งถ้าชดเชยมากเกินไปอาจเกิดภาวะ hyperphosphatemia และ hypocalcemia ตามมาได้
Glyclophosphase 20 ml + Nss 250 ml iv drip in 8 hr
4.การบริหารโพแทสเซียมทดแทน
เมื่อผู้ป่วยมีภาวะ DKA ก็จะเกิดมีภาวะขาดโพแทสเซียมร่วมเสมอ ดังนั้น หลังจากการรักษาด้วยอินซูลิน
และสารน้ำทดแทนก็จะทำให้โพแทสเซียมเคลื่อนเข้าสู่เซลล์และมีการขับโพแทสเซียมออกทางปัสสาวะมากขึ้นจน
อาจเกิดภาวะแทรกช้อน เช่น หัวใจเต้นผิดจังหวะและกล้ามเนื้ออ่อนแรงตามมาได้ ดังนั้น ผู้ป่วยควรได้รับการทดแทนดังนี้
0.9% NaCl 1000 ml +KCl 40 mEq IV rate 80 ml / hr (เนื่องจาากผู้ป่วยมีภาวะ DKA ร่างกายจะขับปัสสาวะออกเป็นจำนวนมาก ส่งผลให้ K ในเลือดต่ำ และการให้อินซูลินทางหลอดเลือดดำ จะทำให้ระดับ K ในเลือดต่ำลงมากขึ้น จึงต้องให้ KCI เพิ่ม เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน เช่น หัวใจเต้นผิดจังหวะ และ กล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นต้น
การรักษาสาเหตุ เช่น ให้ยาฆ่าเชื้อในรายที่ติดเชื้อ
Ceftriaxone 2 g IV OD
การวินิจฉัย DKA
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพบความผิดปกติ
Blood Ketone
วันที่ 21/1/2565 4.1 (ค่าปกติ <0.6)
วันที่ 22/1/2565 0.6 (ค่าปกติ <0.6)
วันที่ 23/1/2565 1.4 (ค่าปกติ <0.6)
Blood Lactate
วันที่ 21/1/2565 5.4 (ค่าปกติ 1.0-1.8)
Glucose CSF
วันที่ 21/1/2565 359 (ค่าปกติ 40-70)
HbA1C
วันที่ 23/1/2565 14.2 (ค่าปกติ 4.8-6.0 %)
จากทฤษฎี
การซักประวัติผู้ป่วยเกี่ยวกับอาการแสดง คือ มีปัสสาวะมาก กระหายน้ำ ดื่มน้ำมาก น้ำหนักลดไม่ทราบสาเหตุ
กินจุ หิวบ่อย รวมถึงมีผื่นคัน ติดเชื้อตามผิวหนัง
โดยเฉพาะรักแร้ ขาหนีบ เป็นแผลเรื้อรัง สายตามัวลง
มีชาปลายมือปลายเท้า เป็นฝี เจ็บหน้าอก อัมพาต
รวมถึงชัก
จากการซักประวัติผู้ป่วยบอกว่าเมื่อ 5 ปีที่แล้วมีอาการดื่มน้ำมาก ปัสสาวะบ่อย กินจุ น้ำหนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ มีพี่ชายเป็นเบาหวาน การตรวจร่างกายวันที่ 27 มกราคม 2565น้ำหนัก 64 กิโลกรัม สูง 160 เซนติเมตร BMI 25.00 BP: 150/86 mmHg DTX 159 mg%
แพทย์จึงวินิจฉัยว่าผู้ป่วยเป็นโรค Diabetic ketoacidosis (DKA) โรคภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูงร่วมกับมีการคั่งของคีโตนในกระแสเลือด
อาการและอาการแสดง DKA
อาการแสดงของภาวะน้ำตาลในเลือดสูงร่วมกับภาวะเลือดเป็นกรดจากการที่มีสารคีโตนสะสมในเลือด(DKA)
4.คลื่นใส้ อาเจียน
5.ปวดท้อง
3.กระหายน้ำ
6.อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
2.คอแห้ง
7.หอบเหนื่อย หอบลึก
1.ปัสสาวะบ่อย
8.ความดันโลหิตต่ำ
9.สับสน
10.ความดันโลหิตต่ำ
11.สับสน
12.อาจเกิดภาวะช็อค หมดสติ
13.ตรวจพบระดับน้ าตาลในเลือดมากกว่า 250
มก. ต่อดล
ลมหายใจมีกลิ่นผลไม้
อาการแสดงของภาวะน้ำตาลในเลือดสูง เคสกรณีศึกษา
4.ความดันโลหิตต่ำ
5.สับสน
3.ชีพจรเต้นเร็ว
2.หอบเหนื่อย หอบลึก
6.ช็อค หมดสติ
1.อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
7.ระดับน้ำตาลในเลือดแรกรับ 514 มก. ต่อ ดล.
กระหายน้ำ
ลมหายใจมีกลิ่นผลไม้