Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปรียบเทียบทฤษฎีกับกรณีศึกษา - Coggle Diagram
การเปรียบเทียบทฤษฎีกับกรณีศึกษา
อาการไม่สุขสบายในไตรมาส 2
อาการบวมที่ข้อเท้า
จากกรณีศึกษาตรวจร่างกายพบว่ามีการบวมบริเวณหลังเท้าทั้ง 2 ข้าง กดบุ๋ม 1+
มดลูกหดรัดตัว
การกรณีศึกษาสตรีตั้งครรภ์บอกว่า มีการหดรัดตัวของมดลูก แต่ไม่สม่ำเสมอ
ปัสสาวะบ่อย
จากกรณีศึกษาสตรีตั้งครรภ์บอกว่าเริ่มมีอาการปัสสาวะบ่อยมากขึ้นกว่าเดิม จากเดิมปัสสาวะวันละ 3 ครั้ง แต่พอเริ่มมีการตั้งครรภ์ก็เริ่มปัสสาวะเยอะขึ้นเป็นวันละ 5 ครั้ง
สารคัดหลั่งในช่องคลอดเพิ่มมากขึ้น
การกรณีศึกษาสตรีตั้งครรภ์บอกว่ามีตกขาวออกเยอะ ในบางครั้ง
ปวดหลัง
จากกรณีศึกษามีน้ำหนักก่อนตั้งครรภ์อยู่ที่ 83 kg
ปัจจุบันอายุครรภ์ 33+6 wks น้ำหนัก 87.3 kg. น้ำหนักเพิ่มขึ้น 4.9 kg สตรีตั้งครรภ์ให้ข้อมูลว่า “มักจะปวดหลังร้าวลงไปถึงสะโพกและต้นขา ปวดขณะนอนและเมื่อมีพลิกตัว”
ขนาด HF = 31 cm ซึ่งสัมพันธ์กับอายุครรภ์
การเจ็บถ่วงบริเวณช่วงล่างของท้องน้อย
จากกรณีศึกษาไม่พบข้อมูล
อาการจุกแสบยอดอก
จากกรณีศึกษาไม่พบข้อมูล
ตะคริว
จากกรณีศึกษาไม่พบข้อมูล
อาการท้องอืด
การกรณีศึกษาสตรีตั้งครรภ์บอกว่ามีอาการท้องอืดเวลาดื่มนมจืด แต่ปรับพฤติกรรมมาดื่มโอวัลตินและน้ำเต้าหู้แทน
Probable sing
การหดรัดตัวของมดลูก
สตรีตั้งครรภ์มีความรู้สึกว่ามดลูกหดรดตัวเกิดขึ้นไม่สม่ำเสมอ
Uterine Souffe
จากกรณีศึกษา อายุครรภ์ 33+6 wks. ฟัง FHS ได้ 128-130 ครั้งต่อนาที
หน้าท้องโตขึ้น
จากกรณีศึกษาสตรีตั้งครรภ์ อายุครรภ์ GA 33+6wks พบระดับยอดมดลูก (high of fundus) 31 cm. ซึ่งสัมพันธ์กับอายุครรภ์
Pregnancy Test
จากกรณีศึกษาสตรีตั้งครรภ์มีการตรวจสอบการตั้งครรภ์โดยการใช้ ชุดตรวจตั้งครรภ์ Pregnancy Test ในวันที่ 7 สิงหาคม พบขึ้น 2 ขีดจากนั้นวันที่ 8 สิงหาคม 2565 จึงมาตรวจครรภ์ที่โรงพยาบาล
คลำได้ขอบเขตของเด็ก
ท่าที่ 1 Fundal grip พบว่าบริเวณ High of fundus มีลักษณะนุ่มป้านจึงสรุปว่าบริเวณยอดมดลูกเป็นก้นของทารก
ท่าที่ 2 Umbilical grip พบว่า Large part อยู่ทางด้านขวามือของมารดา ทารกอยู่ในท่า ROA
ท่าที่ 3 Pawlik's grip พบว่ามี vertex presentation และพบ ballottement ซึ่งสามารถโยกคลอนศีรษะของทารกได้ชัดเจนแสดงถึงทารกยังไม่มีการ engagement
ท่าที่ 4 Bilateral inguinal grip ปลายนิ้วสามารถสอบเข้าหากันได้พบ vertex presentation ซึ่งแสดงว่าทารกยังไม่ engagement
Preumptive sings
การขาดประจำเดือน
จากกรณีศึกษาตั้งครรภ์บอกว่า ประจำเดือนไม่มาประมาณ 2 เดือนก่อนที่จะมารับการตรวจเพื่อยืนยันการตั้งครรภ์ที่โรงพยาบาล
การเปลี่ยนแปลงของเต้านม
จากกรณีศึกษาสตรีตั้งครรภ์บอกว่ารู้สึกว่าเต้านมมีขนาดใหญ่ขึ้น ลานนมมีสีน้ำตาลเข้ม
อาการอ่อนเพลีย
จากกรณีศึกษาบอกว่ามีอาการอ่อนเพลียเมื่อต้องเดินมากๆเป็นบางครั้ง
อาการคลื่นไส้หรือแพ้ท้อง
จากกรณีศึกษาสตรีตั้งครรภ์บอกว่ามีอาการคลื่นไส้อาเจียนในช่วงเช้าในช่วงอายุครรภ์ 1-2 เดือน หลังจากนั้นก็ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน
การรับรู้ว่าทารกดิ้น
จากกรณีศึกษาสตรีตั้งครรภ์บอกว่าเริ่มรู้สึกว่ามีทารกดิ้นในครรภ์ตอนอายุครรภ์ประมาณ 20 wks.
อาการปัสสาวะบ่อย
จากกรณีศึกษาสตรีตั้งครรภ์บอกว่าเริ่มมีอาการปัสสาวะบ่อยมากขึ้นกว่าเดิม จากเดิมปัสสาวะวันละ 3 ครั้ง แต่พอเริ่มมีการตั้งครรภ์ก็เริ่มปัสสาวะเยอะขึ้นเป็นวันละ 5 ครั้ง
การเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง
จากกรณีศึกษาตรวจร่างกายพบ Linea nigra บริเวณตรงกลางหน้าท้องมีสีน้ำตาลอ่อน พบ straiae gravidalum บริเวณขอบท้องด้านล่าง สีเงิน
Postive sings
การได้ยินเสียงการเต้นของหัวใจ
จากกรณีศึกษาสามารถฟังเสียงหัวใจของทารกได้ตอนอายุครรภ์ 20+6 wks.
การคลำได้การดิ้นของทารกในครรภ์
จากกรณีศึกษาสตรีตั้งครรภ์สามารถสัมผัสได้ว่าทารกดิ้น ตอนอายุครรภ์ 20 wks.
การตรวจพบทารกโดยการใช้คลื่นเสียงความถี่สูง
วันที่ 3 สิงหาคม 2564 ตรวจ Ultrasound confirm pregnancy พบ FHB positive, CRL 4.14 cm ,GA 11 wks. EDC 23 กุมภาพันธ์ 2565
วันที่ 12 ตุลาคม 2564 ตรวจ Ultrasound พบ EFW 368 gm, Not see gross anomaly , Normal AF, Placenta anterior. No previa
การตรวจพบทารกโดยวิธีถ่ายภาพรังสี
จากกรณีศึกษาไม่พบข้อมูล
การเปลี่ยนแปลงด้านสรีระภาพและกายภาพ
ระบบทางเดินอาหาร
จากกรณีศึกษาสตรีตั้งครรภ์บอกว่ามีอาการท้องอืดเมื่อกินนมวัวแต่ได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมากินเป็นโอวัลตินและน้ำเต้าหู้แทน
การเปลี่ยนแปลงของระบบอวัยวะสืบพันธุ์
อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและช่องคลอด
จากกรณีศึกษาสตรีตั้งครรภ์บอกว่ามีตกขาวออกเยอะเป็นบ้างครั้ง
เอ็นยึดข้อต่อของกระดูกและอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
จากกรณีศึกษาไม่พบข้อมูล
มดลูก
จากกรณีศึกษาพบระดับยอดมดลูก (high of fundus) 31 cm. ซึ่งสัมพันธ์กับอายุครรภ์
เต้านม
สตรีตั้งครรภ์บอกว่าเต้านมมีขนาดใหญ่ขึ้น ลานนมสีน้ำตาลเข้ม
ปากมดลูก
จากกรณีศึกษาไม่พบข้อมูล
ระบบทางเดินปัสสาวะ
จากกรณีศึกษาสตรีตั้งครรภ์มีการปัสสาวะบ่อยขึ้น
ปัสสาวะวันละ 5 ครั้ง ตอนกลางวัน 2-3 ครั้ง กลางคืน 1-2 ครั้ง
การเปลี่ยนแปลงระบบโครงสร้าง
จากกรณีศึกษามีน้ำหนักก่อนตั้งครรภ์อยู่ที่ 83 kg
ปัจจุบันอายุครรภ์ 33+6 wks น้ำหนัก 87.3 kg. น้ำหนักเพิ่มขึ้น 4.9 kg สตรีตั้งครรภ์ให้ข้อมูลว่า “มักจะปวดหลังร้าวลงไปถึงสะโพกและต้นขา ปวดขณะนอนและเมื่อมีพลิกตัว”
ขนาด HF = 31 cm ซึ่งสัมพันธ์กับอายุครรภ์
การเปลี่ยนแปลงของระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
จากกรณีศึกษาไม่พบข้อมูล
การเปลี่ยนแปลงผิวหนัง
จากกรณีศึกษาตรวจร่างกายพบ Linea nigra บริเวณตรงกลางหน้าท้องมีสีน้ำตาลอ่อน พบ straiae gravidalum บริเวณขอบท้องด้านล่าง สีเงิน
ระบบทางเดินหายใจ
จากกรณีศึกษาไม่พบข้อมูล
การเปลี่ยนแปลงงด้านจิตสังคมของสตรีตั้งครรภ์
การกรณีศึกษาสตรีตั้งครรภ์บอกว่า สามีดูแลเอาใส่ใจมากขึ้น คนในครอบครัวดีใจที่ตั้งครรภ์ หลังจากตั้งครรภ์มีอาการหงุดหงิดง่ายขึ้น
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ
สตรีตั้งครรภ์มีความรู้สึกพึงพอใจต่อรูปร่างหน้าตาของตนเอง สามารถยอมรับกับร่างกายที่เปลี่ยนไปขณะตั้งครรภ์ได้ วิตกกังวลเกี่ยวกับการคลอด กลัวเจ็บขณะคลอดบุตร วางแผนไว้ว่าจะคลอดแบบธรรมชาติ