Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11 ปัญหาและแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตร - Coggle Diagram
บทที่ 11
ปัญหาและแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตร
ปัญหาของการพัฒนาหลักสูตร
ปัญหาของการพัฒนาหลักสูตร คือปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการพัฒนาหลักสูตรที่เป็นปัญหาอันเกิดจากการร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมกันสร้างหลักสูตร และร่วมกันนำหลักสูตรไปใช้ มีดังนี้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตร ไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตน
ขาดการประสานงานหน้าที่ดีระหว่างหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตร
ผู้บริหารระดับต่างๆ เห็นว่าหลักสูตรเป็นหน้าที่ของหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยเฉพาะ
ปัญหาการไม่เปลี่ยนแปลงการเรียนการสอนของครูตามแนวทางของหลักสูตร
ปัญหาการเผยแพร่หลักสูตร การสื่อสารทำความเข้าใจในหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นใหม่
แนวโน้มของหลักสูตร
ออนสไตน์ (Ornstein, Allan C. 1994 : 4-20) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับแนวโน้มของหลักสูตรไว้ว่าหลักสูตรในอนาคต เนื้อหาวิชาจะถูกลดความสำคัญลงโดยเฉพาะเนื้อหาวิชาที่แยกแบบโดดเดี่ยวแต่จะมีลักษณะประสมประสานมากขึ้นและมีลักษณะเป็นองค์รวม
ออนสไตน์ได้สรุปไว้ว่าแนวโน้มของหลักสูตรมีดังต่อไปนี้
1.การศึกษาในรูปแบบอีเล็กทรอนิกส์ (Electronic Education)
การรู้เทคโนโลยี (Technical Literycy)
การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning)
การศึกษานานาชาติ (International Education)
สิ่งแวดล้อมศึกษา (Environmental Education)
การศึกษาเกี่ยวกับนิวเคลียร์ (Nuclear Education)
สุขศึกษาและการดูแลสุขภาพกาย (Health Education and Physical Fitness)
8.การศึกษาต่างด้าว (Immigrant Education)
ภูมิศาสตร์ย้อนกลับ (The Return of Geography)
การศึกษาในช่วงเกรดกลาง (Middle-Grade Education)
การศึกษาสำหรับผู้สูงอายุ (Aging Education)
ธุรกิจการศึกษา(For-Profit Education)
การศึกษาเพื่ออนาคต (Futuristic Education)
Beach Public Schools ให้ความเห็นว่าแนวโน้มในอนาคตที่มีผลต่อการวางแผนหลักสูตรมี 15 ประเด็น
ทักษะพื้นฐานทางวิชาการ (Basic Academic Skills)
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศอื่น ๆ (Computers and Other
Information Technologies)
ความยืดหยุ่นของหลักสูตร(Curriculum Flexibility)
4.การทบทวนหลักสูตร (Curriculum Revision)
5.ความเป็นประชาธิปไตย (Democratic Ideals)
6.โปรแกรมสำหรับเด็กเล็ก(Early Childhood Programs)
7.การมองอนาคต (Futures Perspective)
8.สัมพันธภาพระดับสากล (Global Interrelationships)
9.การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning)
10.สื่อมวลชน(Mass Media)
11.การเติมเต็มบุคลิกภาพ (Personal Fulfillment)
การประยุกต์กระบวนการ (Process Approach)
13.การพัฒนาทีมงาน (Staff Development)
14.ใช้ชุมชน (Use of Community)
15.การอาชีวและอาชีพศึกษา (Vocational and Career Education)
รายงานการศึกษาวิจัยในช่วงทศวรรษ 1940 และ 1950 มุ่งศึกษา ตัวแปรทำนาย จากคุณสมบัติของครู
มีความเชื่อว่าครูที่มีคุณสมบัติมีแนวโน้มที่จะสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนี้
1.เสียง รูปร่างหน้าตา
ความมั่นคงทางอารมณ์
ความน่าเชื่อถือ
5.ความอบอุ่น
ความกระตือรือร้น
ต่อมาในทศวรรษ 1980 เมเดอลีน ฮันเตอร์ (Madeline Hunter)
และคณะมหาวิทยาลัยยูซีแอลเอใช้หลักทฤษฎีเป็นฐาน
(Theory-based) ในการเรียนการสอน สรุปได้ดังนี้
1.การสอนมีรากฐานมาจากทฤษฎีการเรียนรู้แบบพฤติกรรมนิยม
การอนุมานจากแนวคิดในด้านการเรียนรู้ เช่น
แรงจูงใจ (Motivation)
ความทรงจำ (Retention)
การถ่ายโอนความรู้ (Transfer)
แนวโน้มของการพัฒนาหลักสูตร มีประเด็นสำคัญเกี่ยวข้อง 2 ประเด็นคือ
ข้อมูลที่นำมาเป็นพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
การวิจัยทางการศึกษา