Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน - Coggle Diagram
การวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ประเภทของข้อมูล
แบ่งตามคุณสมบัติของค่าที่วัดได้
ข้อมูลเชิงคุณภาพ
ข้อมูลเชิงปริมาณ
แบ่งตามแหล่งที่มาของข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ
ข้อมูลทุติยภูมิ
แบ่งตามสเกลการวัดข้อมูล
ข้อมูลที่วัดในสเกลนามบัญญัติ
ข้อมูลที่วัดในสเกลเรียงลำดับ
ข้อมูลที่วัดในสเกลอันตรภาค
ข้อมูลที่วัดในสเกลอัตราส่วน
ประเภทของสถิติ
สถิติว่าด้วยการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
สถิติบรรยาย หรือ สถิติพรรณนา
สถิติอนุมาน
สถิติพาราเมตริก
สถิติพาราเมตริก
หลักการเลือกใช้สถิติ
วัตถุประสงค์การวิจัย
(2) เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างประชากร
(3) อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรหรือการทำนาย
(4) จัดระบบโครงสร้างความสัมพันธ์ของกลุ่มตัวแปร
(5) แสวงหาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ
(6) พัฒนาหรือทดสอบทฤษฎีโดยการสร้างแบบจำลองหรือโมเดล
(1) บรรยายลักษณะของประชากร หรือกลุ่มตัวอย่าง
สเกลการวัดค่าของตัวแปร
จำนวนตัวแปรที่ศึกษา
ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
จำนวนกลุ่มตัวอย่างของประชากรที่ศึกษา
ความต่างระดับของหน่วยการวิเคราะห์
ความสอดคล้องของข้อมูลกับข้อตกลงเบื้องต้นของสถิติวิเคราะห์ที่จะใช้
การเก็บข้อมูลครั้งเดียว หรือเก็บข้อมูลหลายช่วงเวลา
การวางแผนการวิเคราะห์ข้อมูล
เมื่อนักวิจัยได้ปัญหาวิจัย ออกแบบการวิจัย และดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้ว นักวิจัยจะต้องวางแผนการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัย
การเก็บรวบรวมข้อมูล
นักวิจัยนิยมใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS ในการวิเคราะห์ข้อมูล
1.จัดทำคู่มือลงรหัส
สร้สร้างแฟ้มข้อมูล
3.Save data file
4.เลือกคำสั่งประมวลผล
5.แสดงผลลัพธ์หน้าต่าง Output
6.นำผลลัพธ์จากหน้าต่าง Output ไปเขียนรายงาน
การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา
การแจกแจงความถี่ ร้อยละ
1.1 การแจกแจงความถี่แบบทางเดียว
1.2การแจกแจงความถี่แบบสองทาง
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต นินิยมใช้มากที่สุด
มัธยฐาน
ฐานนิยม
การวัดการกระจาย
พิสัย
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
สัมประสิทธิ์การแปรผัน
การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติอนุมาน
การวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย
การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยกรณีกลุ่มตัวอย่างไม่เป็นอิสระต่อกัน
การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยกรณีกลุ่มตัวอย่างเป็นอิสระต่อกัน
การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
รูปแบบความสัมพันธ์
สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
การแปลความหมายค่าความสัมพันธ์
(1) บาร์ทซ์ ได้เสนอเกณฑ์การพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
(2) ประคองกรรณสูต ได้เสนอเกณฑ์การพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
การเลือกเกณฑ์การแปลความหมายของค่าความสัมพันธ์
ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่าง 0.55 – 0.77 ก็แสดงความสัมพันธ์ที่มีประโยชน์
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์กรณีตัวแปรเชิงคุณภาพ