Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน, นางสาวสริตา…
บทที่ 6
การวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูล
3.ประเภทของสถิติ
3.2 สถิติบรรยาย หรือสถิติพรรณนา (descriptive statistics)
3.3 สถิติอนุมาน (inferential statistics)
3.1 สถิติว่าด้วยการเลือกกลุ่มตัวอย่าง (sampling statistics)
4.หลักการเลือกใช้สถิติ
4.2 สเกลการวัดค่าของตัวแปร
4.3 จำนวนตัวแปรที่ศึกษา
4.1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
4.4 ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
4.5 จำนวนกลุ่มของประชากรที่ศึกษา
4.6 ความต่างระดับของหน่วยการวิเคราะห์
4.7 ความสอดคล้องของข้อมูลกับข้อตกลงเบื้องต้นของสถิติวิเคราะห์ที่จะใช้
4.8 การเก็บข้อมูลครั้งเดียวหรือเก็บข้อมูลหลายช่วงเวลา
2.ประเภทของข้อมูล
2.2 แบ่งตามแหล่งที่มาของข้อมูล
2.3 แบ่งตามสเกลการวัดข้อมูล
2.1 แบ่งตามคุณสมบัติของค่าที่วัดได้
5.การวางแผนการวิเคราะห์
เมื่อนักวิจัยได้ปัญหาวิจัยออกแบบการวิจัยและดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้ว นักวิจัยจะต้องวางแผนการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัย
1.ความหมายของข้อมูล
ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงที่มีการรวบรวมไว้และมีความหมายเกี่ยวกับบุคคล สถานที่ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ที่สนใจ อาจได้จากการสังเกต สอบถาม การวัด การนับ การชั่ง ข้อมูลเป็นได้ทั้งตัวเลข และไม่ใช่ตัวเลข เช่น สัญลักษณ์ เสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว
การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติอนุมาน
การวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย
1.2 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยกรณีกลุ่มตัวอย่างเป็นอิสระต่อกัน
1.3 การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
1.1 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยกรณีกลุ่มตัวอย่างไม่เป็นอิสระต่อกัน
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
2.1 สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันเป็นเทคนิคสถิติที่ใช้หาขนาดและทิศทางของความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงระหว่างตัวแปรเชิงปริมาณ หรือตัวแปรที่วัดในสเกลอันตภาค หรือสเกลอัตราส่วน 2 ตัว
2.2การวิเคราะห์ความสัมพันธ์กรณีตัวแปรเชิงคุณภาพ
กรณีที่ตัวแปรที่นักวิจัยสนใจศึกษาความสัมพันธ์เป็นตัวแปรเชิงคุณภาพการทดสอบว่า ตัวแปรเชิงคุณภาพ 2 ตัว มีความสัมพันธ์ต่อกันอย่างมีนัยสำคัญหรือไม่คือสถิติทดสอบไค-สแควร์
การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา
การแจกแจงความถี่ ร้อยละ
การแจกแจงความถี่สามารถแจ้งได้ทีละตัวแปรและหลายตัวไปพร้อมกัน คือ
การแจกแจงความถี่ทีละตัวแปร เรียกว่า การแจกแจงความถี่แบบทางเดียว
การแจกแจงความถี่ทีละหลายตัวแปรพร้อมกัน เรียกว่า การแจกแจงความถี่แบบหลายทาง
การแจกแจงความถี่ คือ การนำเอาข้อมูลที่นักวิจัยรวบรวมมาได้ ซึ่งเป็นข้อมูลดิบมาจัดให้เป็นระเบียบเป็นหมวดหมู่ โดยเรียงจากค่ามากไปหาค่าน้อย แล้วนับจำนวนความถี่เพื่อสะดวกในการวิเคราะห์ และง่ายต่อการนำเสนอเป็นค่าสถิติต่างๆ
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางเป็นการหาค่าค่าหนึ่งที่เป็นตัวแทนของข้อมูลชุดนั้นๆ เพื่อนำมาใช้อธิบายภาพรวมของข้อมูลชุดนั้น
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางมีหลายวิธี ค่ากลางที่นิยมใช้ในการวิจัยทางการศึกษา ได้แก่
ฐานนิยม
มัธยฐาน
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
การวัดการกระจาย
การวัดการกระจายเป็นการหาค่าค่าหนึ่งเพื่อบอกว่าข้อมูลชุดนั้นมีความแตกต่างกันมากน้อยเพียงใด ในการจัดการเรียนการสอนจำเป็นต้องเลือกวิธีที่จะทำให้นักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยในกลุ่มสูง และการกระจายของคะแนนต่ำ
วิธีการวัดการกระจาย
การวัดการกระจายของข้อมูลที่นิยมใช้กันอยู่มี 3 ค่า ได้แก่
พิสัย
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ความแปรปรวน
นางสาวสริตา กัลพฤกษ์ รหัสนักศึกษา 611120418 Gen-Science