Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บ้านกลุ่มที่ 1, ลักษณะภูมิอากาศ
เป็นเขตอากาศแบบกึ่งขั้วโลก …
บ้านกลุ่มที่ 1
-
สภาพภูมิอากาศ
อุณหภูมิในทุ่งหญ้าเขตอบอุ่นแตกต่างกันไปตามฤดูกาล ในฤดูหนาวอุณหภูมิอาจลดลงจนต่ำกว่า 0 องศาฟาเรนไฮต์ในบางพื้นที่ ในฤดูร้อนอุณหภูมิอาจสูงกว่า 90 องศาฟาเรนไฮต์ ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่นได้รับปริมาณน้ำฝนต่ำถึงปานกลางโดยเฉลี่ยต่อปี (20-35 นิ้ว) การตกตะกอนนี้ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของหิมะในทุ่งหญ้าเขตอบอุ่นของซีกโลกเหนือ
ประเด็นที่4 ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น (temperate grassland) เป็นทุ่งหญ้าที่มีต้นหญ้าสูงตั้งแต่ 1.5-8 ฟุต แตกต่างกันไปตามปริมาณน้ำฝน หญ้าในเขตนี้จะมีรากที่หยั่งลึกมากทุ่งหญ้าเขตอบอุ่นที่สำคัญ ได้แก่ ทุ่งหญ้าสเตปส์ (Steppes) ในรัสเซีย
-
-
⛳️ไบโอมแหล่งน้ําจืด (Freshwater biome) มีค่าความเข้มข้นของเกลือน้อยกว่าร้อยละ 0.1 โดยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ แหล่งน้ำนิ่ง เช่น บึง บ่อ ทะเลสาบ และแหล่งน้ำไหล เช่น ล้าธาร แม่น้้า สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในแหล่งนก้ไหล พบว่าต้องมีการปรับตัวเพื่อความอยู่รอดในการด้ารงชีวิต บาง ชนิดมีรูปร่างเพรียวเพื่อลดความต้านทานของกระแสน้ำ เช่น ปลาบางชนิดมีรูปร่างแบนราบไปกับ พื้นผิวที่เกาะ ตัวอ่อนของสัตว์บางชนิด เช่น แมลงหนอนปลอกน้ำ และฟองน้ำน้ำจืด สามารถเกาะติด แน่นกับพื้นผิวที่อาศัยอยู่ นอกจากนี้ยังพบว่าปลาบางชนิด เช่น ปลาตะเพียนน้้าตก ปลาซิวน้ำตก ปลา พลวง และปลาเลียหิน จะมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการว่ายทวนน้ำอยู่เสมอ เป็น
-
-
-
-ความสำคัญ
: เป็นแหล่งอาศัยของสัตว์น้ำและพืชน้ำ เป็นแหล่งอาหารที่สำคัญของมนุษย์และสัตว์ต่าง ๆ เป็นแหล่งที่ให้น้ำในการอุปโภค บริโภค และทำการเกษตร
สัตว์ไบโอมแหล่งน้ำเค็ม
ตัวอย่างสัตว์น้ำที่จัดแสดงในระบบนิเวศแนวปะการังพันธุ์ปลาขนาดใหญ่ในแนวปะการังฝั่งอ่าวไทย เช่น1. ปลาสินสมุทรลายบั้ง 2. ปลานกแก้ว3. ปลานกขุนทองสองตอน, ปลานกขุนทองสองสี4. ปลาเขียวพระอินทร์
พันธุ์ปลาขนาดเล็กในแนวปะการังฝั่งอ่าวไทย เช่น1.ปลาม้าลาย2.ปลาสลิดหินฟ้า3.ปลาสลิดหินเขขียว4.ปลาโดมิโน หรือปลาสลิดหินสามจุด
พันธุ์ปลาขนาดเล็กในแนวปะการังฝั่งอันดามัน เช่น1. ปลาโนรีเกล็ด, ปลาโนรี , ผีเสื้อครีบยาว2. ปลาสลิดหินสามจุด, โดมิโน3. ปลามุกประดิษฐ์4. ปลากัดทะเล
พันธุ์ปลาขนาดใหญ่ในแนวปะการังฝั่งอันดามัน เช่น1. ปลานกแก้วเขียว2. ปลาขี้ตังเบ็ดฟ้า3. ปลาขี้ตังเบ็ดเหลือง 4. ปลาวัวดำ
ประเด็นที่1 ทุนดรา
ทุนดรา(tundra) พบบริเวณเเถบขั่วโลกเหนือทุ่งหิมะแถบขั้วโลกมีอาณาเขตตั้นแต่เส้นรุ้งที่ 60 เหนือขึ้นไปจนถึงขั้วโลก เป็นบริเวณหนาวเย็นที่มีหิมะปกคลุมเกือบตลอดปี แม้ในช่วงฤดูร้อน ซึ่งเป็นสั้นๆ ประมาณ 2-3 เดือน
-สัตว์จะจำศีล(Hibermation) หรือหลบอยู่ใต้หิมะ และใต้ก้อนน้ำแข็ง พืชหยุดชะงักการเจริญเติบโต ในฤดูร้อนพื้นดินและพื้นน้ำจะสลับกันเป็นลวดลายสวยงาม ชุมชนแบบทุนดราเป็นชุมชนแบบง่ายๆ ไม่ยั่งยืนและไม่สมดุล
-
-มีลักษณะเเบบไบโอมทุนดรา ได้บนบริเวณภูเขาสูงหลายเเหล่ง เช่น บริเวณยอดเขาคีรีมันจาโรทวีปเเอฟริกา พื้นที่ของรัฐอะลาสก้า และไซบีเรีย
-
ประเด็นที่ 9 แหล่งน้ำเค็ม • ไบโอมแหล่งน้ำเค็ม (Marine biomes) โดยทั่วไปประกอบด้วยแหล่งน้ำเค็ม ซึ่งได้แก่ ทะเลและมหาสมุทร ซึ่งพบได้ในปริมาณมากถึงร้อยละ 71 ของพื้นที่ผิวโลก และมีความลึกมากโดยเฉลี่ยถึง 3,750 เมตร ไบโอมแหล่งน้ำเค็มจะแตกต่างจากน้ำจืดตรงที่มีน้ำขึ้นน้ำลงเป็นปัจจัยกายภาพสำคัญ นอกจากนี้ยังพบช่วงรอยต่อของแหล่งน้ำจืดกับน้ำเค็มที่มาบรรจบกัน และเกิดเป็นแหล่งน้ำกร่อยซึ่งมักพบบริเวณปากแม่น้ำ สิ่งมีชีวิตและพืชที่พบได้ในไบโอมแหล่งนำ้เค็ม พืช หญ้าทะเล(Sea Grass),ปะการัง,สาหร่ายเซลล์เดียว
-
-
ประเด็นที่3 ไบโอมป่าผลัดใบเขตอบอุ่น ส่วนมากพบได้เป็นบริเวณกว้างในเขตภูมิอากาศแบบอบอุ่น ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 100 เซนติเมตรต่อปี และมีอากาศค่อนข้างเย็น มีปริมาณความชื้นเพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นไม้ใหญ่ เเบ่งได้ 4 ฤดู ได้เเก่ ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ร่วง ฤดูหนาว และฤดูใบไม้ผลิ โดยต้นไม้จะทิ้งใบหรือผลัดใบก่อนจะถึงฤดูหนาว และจะเริ่มผลิใบอีกครั้งหลังจากฤดูหนาวผ่านพ้นไปเพื่อลดอัตราการคายน้ำ พรรณไม้หลักเป็นไม้ต้นใบกว้าง
-
ประเด็นที่5 ทุ่งหญ้าเขตร้อน ทุ่งหญ้าเขตร้อน(Tropical grassland forest)ทุ่งหญ้าเขตร้อนจะเป็นเขตที่พบพืชตระกูลหญ้าปกคลุมดิน มีสภาพภูมิอากาศแบบฤดูแล้งยาวนาน ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยรายปีค่อนข้างต่ำพื้นดินส่วนใหญ่ขาดความอุดมสมบูรณ์หรือมีความเค็มสูง พื้นที่ที่มีระบบนิเวศแบบนี้ ได้แก่ ทุ่งหญ้าสะวันนา (Savanna) โดยทั่วไปสังคมพืชที่ประกอบด้วยหญ้าเป็นส่วนใหญ่ และส่วนที่เป็นหญ้ามีการปกคลุมพื้นที่ต่อเนื่องกันไปกว้างมากกว่า 10 เท่า ของความสูงต้นไม้ที่ปรากฏอยู่ มักจำแนกให้เป็นทุ่งหญ้าเขตร้อน หรือหากประเมินพื้นที่หญ้าปกคลุมดินควรมีมากกว่าร้อยละ 70 ทุ่งหญ้าเขตร้อนที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติในประเทศไทยมีพบอยู่น้อยและส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เล็ก ๆ บางส่วนได้ถูกทำลายจนเกือบไม่เหลือสภาพเดิมให้เห็นปรากฏอยู่ เนื่องจากสภาพปัจจัยแวดล้อมที่ค่อนข้างแห้งแล้งจัดในช่วงฤดูแล้งและมีไฟป่าเป็นประจำจึงทำให้สังคมนี้มีความหลากหลายในด้านรูปชีวิตของพืชต่ำ หญ้าซึ่งปรับตัวกับสภาพแวดล้อมเช่นนี้ได้ดี
สภาพภูมิอากาศ มีภูมิอากาศแบบฤดูแล้งยาวนาน มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยรายปีค่อนข้างต่ำ พื้นดินส่วนใหญ่ขาดความอุดมสมบูรณ์หรือมีความเค็มสูง
ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา มีอุณหภูมิเฉลี่ยในแต่ละเดือนมากกว่า 18 องศาเซลเซียสในทุก ๆ เดือนของปี และสามารถกล่าวได้ว่ามีฤดูแล้ง โดยฤดูที่แล้งที่สุดมีปริมาณหยาดน้ำฟ้าน้อยกว่า 60 มิลลิเมตร โดยภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนานี้มีปริมาณน้ำฝนต่ำกว่าภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน และมีฤดูแล้งที่มากกว่าอย่างเห็นได้ชัด เป็นปัจจัยทำให้เกิดไฟป่า
พืชพรรณธรรมชาติ ซึ่งพืชพรรณธรรมชาติในเขตนี้ ส่วนใหญ่จะเป็นทุ่งหญ้าและพืชทนแล้ง โดยจะพบในบริเวณที่มีฝนตกชุก ในฤดูร้อน และอากาศแห้งแล้งในฤดูหนาว สิ่งมีชีวิตในทุ่งหญ้าเขตร้อนจะมีความทนทานต่อความแห้งแล้งและไฟป่าได้อย่างดีจึงจะมีชีชิตรอดอยู่ได้ มีพืชตระกูลปกคลุมดิน ความสูงของหญ้ามึกแปรผันตามชนิดของพืชหลักและความสมบูรณ์มึกแปรผันตรมชนิดของพืชหลักและความอุดมสมบูรณ์ของดิน จำแนกระบบนิเวศป่าไม้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ ป่าไม้ผลัดใบและป่าไม้ไม่ผลัดใบ
-
ประเด็นที่ 6 ทะเลทราย ไบโอมทะเลทรายพบได้ทั่วไปในโลก ในพื้นที่มีปริมาณฝนตกเฉลี่ยน้อยกว่า 250 มม. ต่อปี ซึ่งน้อยกว่าไบโอมอื่นๆ ทะเลทรายบางแห่งร้อนมากมีอุณหภูมิเหนือผิวดินสูงถึง 60 องศาเซลเซียสตลอดวัน บางวันบางแห่งมีอากาศค่อนข้างหนาวเย็น ทะเลทรายที่รู้จักกันโดยทั่วไป ได้แก่ ทะเลทรายซาฮาราในทวีปแอฟริกา ทะเลทรายโกบีในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนและทะเลทรายโมฮาวีในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา พืชที่พบเป็นพวกไม้พุ่มทนแล้ง พืชอวบน้ำ และพืชปีเดียว มีการป้องกันการสูญเสียน้ำ โดยใบลดรูปเป็นหนาม ลำต้นอวบ เก็บสะสมน้ำได้ดี สัตว์ส่วนใหญ่หากินกลางคืนเพื่อหลีกเลี่ยงอากาศร้อนในตอนกลางวัน
-
พืช :palm_tree::พืชที่พบในทะเลทรายเป็นพวกไม้พุ่มทนแล้ง พืชอวบน้ำ และพืชปีเดียว พืชที่พบในไบโอมทะเลทรายนี้มีการป้องกันการสูญเสียน้ำ โดยใบลดรูปเป็นหนาม ลำต้นอวบ เก็บสะสมน้ำดี เช่น ตะบองเพชร อินทผลัม เป็นต้น
สัตว์ :dromedary_camel: :ในทะเลทรายมีสัตว์เลื้อยคลาน พวกงูและกิ้งก่า และสัตว์ใช้ฟันกัดแทะ เช่น พวกหนูชุกชุม สัตว์ส่วนใหญ่หากินกลางคืนเพื่อหลีกเลี่ยงอากาศร้อนในตอนกลางวัน สัตว์จะได้รับน้ำจากพืช(น้ำหวานและยาง)หรือโอเอซิส โดยเฉพาะพวกแมลง ซึ่งเป็นตัวล่อพวกสัตว์เลื้อยคลานเข้ามา สัตว์ในทะเลทราบมักมีสีอ่อนกว่าสัตว์ทั่วไปเพื่อไม่ให้ดูดรังสีแสงอาทิตย์และเป็นการอำพรางตัว ซึ่งสัตว์ส่วนใหญ่จะออกหากินในเวลากลางคืนเพราะอากาศไม่ร้อน
-
ลักษณะภูมิอากาศ เป็นเขตอากาศแบบกึ่งขั้วโลก และ เป็นป่าอากาศหนาวเย็นและแห้ง เนื่องจากอยู่ห่างจากทะเลถัดจากภูมิอากาศแบบ ทุนดราทำให้ในฤดูหนาวอากาศหนาวจัดรุนแรง
- อุณหภูมิเฉลี่ยต่ำากว่าจุดเยือกแข็งนานถึง 6 เดือนต่อปี
- ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 25-75 ซม.ต่อปีหรือ 300-500 มม.ต่อปี ส่วนใหญ่ฝนจะตก
ในช่วงฤดูร้อนและตกในรูปของหิมะ
- ช่วงฤดูร้อนสั้น โดยมีอากาศอบอุ่นขึ้น อุณหภูมิในเดือนกรกฎาคม ประมาณ 16
องศาเซลเซียส
ลักษณะของป่าสน
ลักษณะของป่าสนเขาจะเป็นป่าโปร่งไม่ผลัดใบ ซึ่งจะมีเพียงต้นสนเขาปรากฏอยู่เท่านั้นอาจมีพันธุ์ไม้อื่นปรากฏอยู่บ้างแต่ก็พบได้น้อยในสังคมป่าสนเขาจะมีชั้นเรือนยอดด้านตั้ง แยกได้เป็น 3 ชั้นเรือนยอดระบบนิเวศ
เป็นป่าบนบกที่สำคัญ ถือเป็นระบบนิเวศที่ใหญ่ที่สุด ซึ่งพบกระจายอยู่ในเขตละติจูดเหนือ จึงเรียกว่าป่าสนตอนเหนือตัวอย่างสิ่งมีชีวิต
สัตว์ เช่น นกฮูกเทาใหญ่ กวางมูส หมีดำ นกอินทรีหัวขาวเป็นต้น
พืช เช่น สพรูซ เฮมลอค ไพน์ เฟอ เป็นต้น
-
-
-
-
-
-
-
-
สมาชิกในกลุ่มบ้านที่ 1.นาย ชินกฤต นันพิไชย 2.นาย ศิวัช สังขรัตน์ 3.ภูริณัฐ อินทุภูติ 4.นายปรมินทร์กาเลี่ยง 5.นายปิติพงษ์ ขุนลึก 6.นายธนวุฒิ บุญคงแก้ว 7.นาย พงศภัค ได้รูป 8.นาย ณัฐภัทร ปัตตะโก 9.นาย อริย์ธัช จันทร์สองแก้ว
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-