Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่ม 4 จรรยาบรรณวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษา - Coggle Diagram
กลุ่ม 4 จรรยาบรรณวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษา
จรรยาบรรณวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษา
จรรยาบรรณ
จรรยาบรรณมีความสำคัญต่อทุกสาขาอาชีพ
จรรยาบรรณเป็นการยึดหลักธรรมสำคัญ
คุรุสภา
พรบ.สภาครู ปี 2546 คุรุสภามีหน้าที่กำหนดมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ
มาตรฐานวิชาชีพครู
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติตน
ความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ.2550
แบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา
จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
พฤติกรรมที่พึงประสงค์
พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
พฤติกรรมที่พึงประสงค์
พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
พฤติกรรมที่พึงประสงค์
จรรยาบรรณต่อสังคม
พฤติกรรมที่พึงประสงค์
พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
จรรยาบรรณต่อตนเอง
พฤติกรรมที่พึงประสงค์
พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ.2556
จรรยาบรรณผู้บริหารสถานศึกษา 9 ข้อ
จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
5.ผู้บริหารสถานศึกษา ต้องประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ
6.ผู้บริหารสถานศึกษา ต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์และผู้รับบริการ
4.ผู้บริหารสถานศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และผู้รับบบริการตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ
7.ผู้บริหารสถานศึกษา ต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตำแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ
3.ผู้บริหารสถานศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กำลังใจแก่ศิษย์และผู้รับบริการตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอหน้า
จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
8.ผู้บริหารสถานศึกษา พึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
2.ผู้บริหารสถานศึกษา ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพ และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ
จรรยาบรรณต่อสังคม
9.ผู้บริหารสถานศึกษา พึงปฏิบัติตนเป็นผู้นำในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวมและยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
จรรยาบรรณต่อตนเอง
1.ผู้บริหารสถานศึกษาต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ
จรรยาบรรณในวิชาชีพของผู้บริหาร
จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
พึงละเว้นการแสวงหาผลประโยชน์อันมิชอบ และให้บริการด้วยความเสมอภาคไม่ใช้อภิสิทธิ
พึงให้ความสำคัญแก่ผู้รับบริการ บริหารงานเพื่อผลประโยชน์ของผู้รับบริการ มิใช่เพื่อผลประโยชน์ของตนเอง
พึงซื่อสัตย์ต่อผู้รับบริการรักษาความลับและผลประโยชน์ในทางที่ถูกของผู้รับบริการ
จรรยาบรรณต่อองค์กร
พึงบริหารคนด้วยระบบคุณธรรม ไม่เล่นพรรคเล่นพวก
พึงรักษาความสามัคคี ปฏิบัติต่อบุคลากรด้วยหลักการและเหตุผล
พึงมีความยุติธรรม มีใจเป็นกลางไม่เลือกปฏิบัติด้วยอคติ
จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
พึงใช้วิชาชีพในการบริหารจัดการด้วยความซื่อสัตย์สุจริต
พึงละเว้นการทำธุรกิจที่อาศัยอำนาจหน้าที่ของตนเพื่อประโยชน์ในกิจการนั้น
พึงซื่อสัตย์ต่อวิชาชีพ
จรรยาบรรณต่อองค์การ ชุมชน และสังคม
พึงดูแลรักษาและใช้ทรัพยากรส่วนรวมขององค์การ อย่างประหยัด คุ้มค่า และมีประสิทธิภาพ
พึงสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน และสร้างสันติภาพ สันติสุขให้เกิดขึ้นในสังคม
พึงให้ความสำคัญ และมีความจงรักภักดีต่อองค์การ
จรรยาบรรณต่อตนเอง
พึงอุทิศตนเพื่อหน้าที่ มีความเสียสละ และมีความกล้าหาญทางจริยธรรม
พึงมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง
พึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีและพัฒนาตน ให้มีคุณธรรม มีสุขภาพดีทั้งกายและจิต รวมทั้งเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถในการบริหารงาน
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2545และ2553
หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา
ส่วนที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ส่วนที่ 3 การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชน
ส่วนที่ 1 การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ
หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา
หมวด 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
หมวด 3 ระบบการศึกษา
หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
หมวด 1 บททั่วไป ความหมายและหลักการ
ระบบการศึกษา
การศึกษานอกระบบ
การศึกษาตามอัธยาศัย
การศึกษาในระบบ
การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา
สภาการศึกษา
คณะกรรมการการอุดมศึกษา
แนวการจัดการศึกษา
ต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษา
ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามขั้นตอนที่กำหนด
ต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรีนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ