Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคโนโลยีทางการแพทย์ การใช้หุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด, ระบบของหุ่นยนต์ดาวินชี มี…
เทคโนโลยีทางการแพทย์
การใช้หุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด
หุ่นยนต์ดาวินชีทำงานอย่างไร
หุ่นยนต์ที่ทำการเลียนแบบการเคลื่อนไหวของมือศัลยแพทย์ ที่ควบคุมการอยู่ที่ console
ประกอบด้วยแขนกล4แขน สามารถหมุนและโค้งงอได้เจ็ดทิศ
ข้อดีของหุ่นยนต์ da Vinci ช่วยในการผ่าตัด?
1.มือหุ่นยนต์สามารถหักงอได้อย่างเป็นอิสระและหมุนได้ถึง 7 ทิศทาง ทำให้สามารถเข้าไปผ่าตัดในพื้นที่จำกัดได้อย่างคล่องแคล่ว นุ่มนวล
มีประสิทธิภาพจึงช่วยลดโอกาสการเกิดอาการแทรกซ้อน
2.ระบบภาพขยาย 3 มิติที่มีความชัดสูง ทำให้ศัลยแพทย์มองเห็นความลึกและรายละเอียดของอวัยวะ รวมถึงเส้นโลหิตและเส้นประสาทได้อย่างชัดเจน ทำให้การผ่าตัดมีความแม่นยำและปลอดภัยมากขึ้น
3.คอมพิวเตอร์สามารถช่วยปรับปรุงแก้ไขสัญญาณอาการมือสั่นของศัลยแพทย์ทำให้การผ่าตัดโดยหุ่นยนต์เป็นไปอย่างนิ่มนวล
4.แผลผ่าตัดที่เล็ก การผ่าตัดที่ละเอียด ทำให้เสียโลหิตน้อย ผู้ป่วยไม่เจ็บมาก สามารถฟื้นตัวเร็ว ทำให้ลดเวลาพักฟื้นในโรงพยาบาล
หุ่นยนต์ดาวินซีเริ่มใช้ตอนไหน
ริเริ่มมีการใช้หุ่นยนต์ในประเทศไทยตัวแรก เพื่อช่วยในการผ่าตัดตั้งแต่ พ.ศ. 2559
หุ่นยนต์ดาวินชีนี้มีที่ไหน
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จังหวัดกรุงเทพมหานคร
ต้นกำเนิดจากประเทศสหรัฐอเมริกา
หุ่นยนต์ดาวินซีคืออะไร
เป็นอีกหนึ่งความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ทางการแพทย์ที่กำลังได้รับความนิยมสูง
มีความแม่นยำ ละเอียด
ครอบคลุมหลายระบบอวัยวะ ตัวอย่างโรคในแต่ระบบที่เหมาะสมในการใช้หุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด เช่น โรคระบบทางเดินอาหาร โรคตับ เป็นต้น
https://youtu.be/20ZOAZWJfdQ
ทำไมถึงชื่อดาวินชี
ชื่อหุ่นยนต์ดาวินชี ตั้งขึ้นเพื่อสดุดีแก่ Leonardo da Vinci ศิลปินผู้ยิ่งใหญ่แห่งศตวรรษที่ 15 ผู้หลงใหลในศาสตร์วิชาการทั้งด้านวิทย์และศิลป์ เขาได้สร้างสรรค์งานศิลปะรวมถึงสิ่งประดิษฐ์มากมาย หนึ่งในนั้นคือภาพร่างของ Leonardo’s Robo หุ่นยนต์อัศวินที่มีกลไกลอยู่ภายใน ซึ่งถือว่าเป็นภาพร่างของหุ่นยนต์ Humanoid ตัวแรกของโลก
ทำไมต้องใช้หุ่นยนต์ดาวิซี
ทำให้กระบวนการผ่าตัดที่มีความสลับซับซ้อนหรือเข้าถึงยาก ทำได้อย่างแม่นยำ
ฟื้นตัวเร็ว และช่วยลกภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัด
ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพมากขึ้น
แผลผ่าตัดเล็ก เสียเลือดน้อย
ระบบของหุ่นยนต์ดาวินชี มี 3 ส่วน
ตัวหุ่นยนต์อยู่ข้างคนไข้
ชุดควบคุมหรือสั่งการ
คอมพิวเตอร์คอนโทรลทาวเวอร์