Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
การประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ
การประเมินสุขภาพทางกาย (Evaluation of Physical status)
Time “Up and Go” test
โดยให้ผู้ป่วยนั่งแล้วลุกขึ้นเดินไประยะ3เมตรเเละเลี้ยวกลับเดินกลับระยะ3เมตรและกลับมานั่งเก้าอี้
ประเมินภาวะโภชนาการ
BMI
สุขภาพปากและฟัน
แบบประเมินMNA : Mini Nutrition Assessment
วัตถุประสงค์
เป็นการประเมินความสมดุล(Homeostasis) ของระบบต่างๆของผู้สูงอายุและความทนทาน (Endurance) ในการทำหน้าที่ของร่างกาย ยังประกอบไปด้วยการะประเมิน
โรค และปัญหาสุขภาพ ภาวะแทรกซ้อน และการรักษา เช่น การเกิดแผลกดทับ และยาที่ใช้
การรักษาและการบัดที่ผู้สูงอายุได้รับ ความคงที่ของการเจ็บป่วย
ภาวะที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ Geriatric syndrome
ความสามารถในการทำกิจกรรม การเคลื่อนที่ การหกล้ม ภาวะโภชนาการ ดัชนีมวลกายอการขับถ่าย อุจจาระ ปัสสาวะ
การประเมินสภาพสมอง การคิด และจิตใจ(Evaluation of cognitive and mental status)
วัตถุประสงค์
การคัดกรองความสามารถในการทำหน้าที่ด้านนี้ของผู้สูงอายุ มีความสำคัญมาก
สถิติผู้สูงอายุมากกว่า 85 ปี พบโรคสมองเสื่อมได้ถึงร้อยละ 47
ค้นหาร้ล่องรอยความพร่องในหน้าที่นี้เบื้องต้น ทำได้โดยการสังเกต ความไม่เรียบร้อย หลงลืม ร่างกายผ่ายผอมหรือมีพฤติกรรมเปลี่ยนไป
Cognitive : MMSE-Thai version 2002
Stress : ST5
แปลผล
คะแนน 0-4
เครียดน้อย
คะแนน 5-7
เครียดปานกลาง
คะแนน8-9
เครียดมาก
คะแนน 10-15
เครียดมากที่สุด
Mood
2Q , 9Q , TGDS
ข้อ 1 ในรอบ 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา มีความรู้สึกซึมเศ้ราหรือหมดหวังหรือไม่
ข้อ 2 ในรอบ 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา ไม่ค่อยรู้สึกสนใจสิ่งต่างๆ หรือมีความไม่พึงพอกับสิ่งที่มีอยู่หรือไม่
เมื่อพบความผิดปกติในคำตอบที่ได้ ควรได้รับการประเมินด้วยแบบประเมินภาวะซึมเศ้ราต่อ เช่น แบบประเมินภาวะซึมเศร้า 9Q หรือ TGDS แบบวัดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุในกระเทศไทย
Depression : TGDS
การประเมินการสนับสนุนทางสังคม(Evaluation of social support status)
วัตถุประสงค์
เป็นการค้นหาผู้ดูแล (Care Giver) ทั้งผู้ดูแลหลักและผู้ดูแลรอง การประเมินปู้สูงอายุที่บ้าน
แหล่งประโยชน์ต่างๆที่เหมาะสม
สัมพันธภาพในครอบครัว เศรษฐกิจ แลัปัญหาสุขภาพของบุคคลอื่นในครอบครัวร่วมด้วย
การประเมินสิ่งเเวดล้อม ที่อยู่อาศัย แสงสว่าง สิ่งอำนวยความสะดวกโดยคำนึงถึงมากที่สุดคือเรื่องของความปลอดภัยของผู้สูงอายุ และค้นหาสิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อการมีกิจกรรมและการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ
ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน Basic ADL (Activities of Daily Livind : ADL)
แบบประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน : Bathel‘S ADL Index
ประเมิน
กลุ่มติดสังคม
ADL>=12คะแนน
ผู้สูงอายุที่พึ่งตนเองได้ ช่วยเหลือผู้อื่น ชุมชนและสังคมได้
กลุ่มติดบ้าน
ADL=5-11คะแนน
ผู้อายุที่ดูแลตนเองได้บ้าง ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง
กลุ่มติดเตียง
ADL=0-4คะแนน
ผู้สูงอายุกลุ่มที่พึ่งตนเองไม่ได้ ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ พิการ หรือทุพพลภาพ
ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันเชิงปฏิบัติ (Instrumental Activities of Daily Living : IADL)
แบบประเมินความสามารถเชิงปฏิบัติดัชนีจุฬาเอดีแอล : Chula ADL index katz index of independence in Activities of Daily Liveng (ADL)
การประเมิน Care manament
การควบควมข้อมูลอย่างครอบคลุม รอบด้าน ตามความเป็นจริง โดยใช้แบบประเมินตามความเหมาะสมเพื่อนกมาวิเคราะห์ประเด็นปัญหา
ขั้นตอนการประเมิน
1<รวบรวมข้อมูลตามความเป็นจริง
2.วิเคราะห์ปัญหาโดยใช้ข้อมูลเป็นหลัก
3.ประมวลความคิดประเด็นปัญหาและแนวทางการช่วยเหลือ
ระดับความเร่งด่วนที่จะต้องดำเนิน care managementt
Red : ขาดสารอาหาร ADL เสื่อมถอย อาศัยเพียงลำพัง ไม่ได้รับการช่วยเหลือจากผู้ใด หากไม่บ่วยเหลือจะเป็นอันตรายแก่ชีวิต
Yellow : อยู่ในสถานภาพที่ถ้าไม่ได้ช่วยเหลืออาจจะไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ต่อไปได้ แม้ความเป็นอยู่จะยังไม่เสี่ยงอันตรายถึงชีวิต
Blue : อยู่ในภาวะที่ไม่จำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือแม้จะมีอุปสรรคในการดำเนินชีวิต แต่ต้องคอยเฝ้ากำกับดูแล