Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
G2P1001 GA 9 wks 2 day
การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด(Preterm labor)…
G2P1001 GA 9 wks 2 day
การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด(Preterm labor) และเเม่เป็นพาหะธาลัสซีเมีย
ข้อมูลพื้นฐาน
หญิงไทยตั้งครรภ์ อายุ 28 ปี อาชีพ พนักงานรับจ้าง
เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
สิทธิการรักษา ชำระเงินเอง(ประกันสุขภาพ)
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 48 Kg. ส่วนสูง 163 cm.
BMI 18.06 kg/m2 (ต่ำกว่าเกณฑ์)
การแพ้ยา: ปฎิเสธ การใช้สารเสพติด: ไม่มี
ประวัติการเจ็บป่วย: ไม่มี
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว: ครรภ์แฝด(น้าผู้ป่วย) ประวัติการผ่าตัด: ไม่มี
วันที่รับไว้ในการดูแล 1 กุมภาพันธ์ 2565
-
ประวัติการตั้งครรภ์
-ครรภ์แรก เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2559 อายุครรภ์ครบกำหนด คลอดแบบ Normal labor เพศชาย น้ำหนัก 2700 กรัม สถานที่คลอด รพ. รัตนบุรี ไม่มีภาวะเเทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ ทารกแข็งเเรงดี
-ครรภ์ปัจจุบัน G2P1001 GA 9 wks 2 day
-
-
-
การวินิจฉัยการตั้งครรภ์
Presumptive signs: ผู้ป่วยบอกว่าขาดประจำเดือน 7 วัน,มีอาการพะอืดพะอมหลังกินข้าว, ปัสสาวะบ่อยประมาณ 10 ครั้ง/วันและรู้สึกคัดตึงเต้านม
-
-
เเม่เป็นพาหะธาลัสซีเมีย
พยาธิสรีรวิทยา
โรคธาลัสซีเมีย คือภาวะเลือดจางที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบ autosomal recessive
โดยเกิดจากความผิดปกติของการสังเคราะห์โกลบิน (globin) ลดลงหรือไม่สร้างโกลบินได้ปกติ มีสาเหตุมาจากการสังเคราะห์ไม่สมดุลกัน ทำให้เม็ดเลือดแดงมีลักษณะผิดปกติและเม็ดเลือดแดงแตกง่าย
-
ชนิดของโรคและความรุนแรง
-
- เบต้าธาลัสซีเมีย
Beta- thalassemia major or Cooley anemia
Beta-thalassemia Hb E disease
-
อาการและอาการแสดง
-
-
Thalassemia minor
-
กลุ่ม homozygous HbE,homozygous Hb CS
ภาวะแทรกซ้อน
ผลกระทบต่อทารก
DFIU,IUGR,Preterm อาจมีปัญหาการเจริญเติบโตและพัฒนาการ,มีภาวะโลหิตจาง,พิการแต่กำเนิด,
น้ำหนักทารกเเรกเกิดน้อยกว่าปกติเนื่องจากนำสารอาหารจากมารดาไปสู่ทารกได้น้อยลง
ผลกระทบต่อมารดา
Abortion,Infection,หัวใจวาย
-
คำเเนะนำ
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง เช่น เครื่องในสัตว์ เพราะร่างกายของผู้ป่วยธาลัสซีเมียจะดูดซึมธาตุเหล็กมากกว่าคนปกติ รวมถึงบางรายที่ต้องรับการให้เลือดเป็นประจำ ทำให้เกิดการสะสมของธาตุเหล็กในร่างกายสูง และเป็นอันตรายต่อตับและหัวใจ
-
หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ต้องออกแรงหนักมาก ผาดโผนจนเกินไป หรือมีผลกระทบต่อกระดูก เพราะผู้ป่วยอาจได้รับอันตรายจากการเสียเลือดและกระดูกหักได้
ควรตรวจสุขภาพฟันเป็นประจำทุก 6 เดือน เพราะผู้ป่วยธาลัสซีเมียมักมีอาการกระดูกเปราะ กระดูกพรุน จึงมีโอกาสที่ฟันจะผุได้บ่อย ในขณะเดียวกันก็ต้องระมัดระวังในการถอนฟัน เพราะจะทำให้เสียเลือดมาก และอาจเป็นอันตรายในผู้ป่วยบางคน
-
รับประทานอาหารที่อุดมไปด้วยโฟลิก (Folic) เพื่อช่วยในการสร้างเม็ดเลือดแดง พบมากในผักใบเขียว เช่น บร็อคโคลี่ คะน้า ธัญพืชไม่ขัดสี แครอท ฟักทอง มะเขือเทศ อะโวคาโด ผลไม้รสเปรี้ยวอย่าง ส้ม มะนาว สตรอว์เบอร์รี
-
-
คัดกรองผู้เป็นพาหะของโรคธาลัสซีเมียโดยเฉพาะหญิงตั้งครรภ์ให้การปรึกษาด้านพันธุกรรมรายที่มีภาวะเสี่ยงต่อการมีบุตรเป็นธาลัสซีเมีย
วินิจฉัยฉัยก่อนคลอดในรายที่มีภาวะเสี่ยง เช่น ตรวจโลหิตพบว่าเป็นพาหะของโรค โดยตรวจแยกชนิดฮีโมโกลบิน (Hb typing)
-
-