Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case study - Coggle Diagram
Case study
-
ข้อมูลผู้ป่วย
-
-
-
หญิงไทยตั้งครรภ์ อายุ 32ปี อาชีพ พนักงานบริษัท รายได้ 26,000 บาทต่อเดือน เชื้อชาติไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ สิทธิการรักษา ประกันสังคม น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์78 กิโลกรัม ส่วนสูง 171 เซนติเมตร BMI 26.67 kg/m2
น้ำหนักขณะตั้งครรภ์78.4 กิโลกรัม ส่วนสูง 171 เซนติเมตร BMI 26.81 kg/m2
-
-
-
-
-
-
พยาธิสภาพ
พาหะธาลัสซีเมีย
การพยาบาล
1.คัดกรองผู้เป็นพาหะของโรคธาลัสซีเมีย โดยเฉพาะหญิงตั้งครรภ์ให้การปรึกษาด้านพันธุกรรมการรายที่มีภาวะเสี่ยงค่อการมีบุตรเป็นธาลัสซีเมีย
-
-
5.อธิบายการปฏิบัติตนอาหารที่มีธาตุเหล็ก ธาตุเหล็ก เป็นส่วนประกอบสำคัญของ ฮีโมโกลบินเป็นตัวนำออกชิเจนไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และไปสู่ทารก ก่อน อาหารที่มีธาตุเหล็กคือ ในอาหาร เช่น เลือดหมู ตับหมู ส่วนผักใบเขียว ได้แก่ มะเขือพวง ผักโขม และแนะนำการรับประทานที่มีโฟลิคสูงเพื่อช่วยสร้างเม็ดเลือดสตรีตั้งครรภ์ เช่น ถั่วลิสง ถั่วแดง
4.การถ่ายทอดทางพันธุกรรมสู่ทารก สตรีตั้งครรภ์เป็นพาหะธาลัสซีเมีย ลูกที่เกิดมาอาจเป็นพาหะธาลัสซีเมียได้
-
3.อธิบายความรู้เกี่ยวกับโรคหญิงตั้งครรภ์ เป็นเบต้าธาลัสซีเมียที่ไม่รุนแรง Hb Heterozygous อาการที่พบบ่อย คือ ไม่ซีดหรือซีดเล็กน้อย
9.แนะนำให้ออกกำลังกายที่เหมาะสม เช่น เดิน โยคะ ว่ายน้ำ ไม่ออกกำลังกายหักโหมเกินไป เพราะจะเหนื่อยง่ายและลดการใช้ออกซิเจน
2.วินิจฉัยฉัยก่อนคลอดในรายที่มีภาวะเสี่ยง เช่น ตรวจโลหิตพบว่าเป็นพาหะของโรค โดยตรวจแยกชนิดฮีโมโกลบิน (Hb typing)
-
โรคธาลัสซีเมีย คือภาวะเลือดจางที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบ autosomal recessive โดยเกิดจากความผิดปกติของการสังเคราะห์สายโกลบิน ทำให้สร้างโกลบินได้ลดลง ทำให้มีการสะสมของกรดอะมิโนที่ไม่ได้นำไปสังเคราะห์ตกตะกอน เรียกว่า Inclusion body เมื่อไปสัมผัสเม็ดเลือดแดง ถูกกำจัดออกที่ม้าม ร่างกายจึงชดเชยสร้างเม็ดเลือดแดงที่ตับ เม็ดเลือดแดงมีเยื่อหุ้มเซลล์ที่หนากว่าปกติแต่ฮีโมโกลบินน้อย จึงมีภาวะโลหิตจางเรื้อรังจากการแตกทำลายของเม็ดเลือดและออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายไม่เพียงพอ มีอาการซีด เหนื่อย อ่อนเพลีย
-
ผลกระทบต่อมารดา
ระยะตั้งครรภ์ มีอาการทางหัวใจ มีCardiac output ใน1 นาทีเพิ่มขึ้น ได้ยินเสียง murmur อาจคลำได้หัวใจเต้นผิดปกติ มีโอกาสเกิด preeclampsia ได้ถึง 2เท่า มีสุขภาพอ่อนแอจึงทำให้ติดเชื้อได้ง่าย ซึ่งอาจเกิดหัวใจวายได้เนื่องจากความต้านทานโรคต่ำ ถ้ารุนแรงทำให้เกิดการแท้งหรือคลอดก่อนกำหนดได้
-
-
-
-
-
-
การชัก
-
การพยาบาล
.
2.ควรรับประทานวิตามินโฟลิค 5 mgเพราะช่วยลดการเกิดความพิการของกระดูกสันหลังหรือไขสันหลังของทารก (Neural tube defect)
-
1.หญิงตั้งครรภ์ควรปรึกษาแพทย์ว่าสามารถหยุดยากันชักได้หรือไม่ ถ้าไม่สามารถหยุดยาได้ ควรปรับหรือเปลี่ยนยากันชักที่ยังสามารถควบคุมอาการชักได้และรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอตามคำแนะนำของแพทย์
อาการชัก คืออาการที่เกิดจากการที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างเฉียบพลันของการทำงานเซลล์สมอง โดยมีการปลดปล่อยคลื่นไฟฟ้าที่ผิดปกติออกมาจากเซลล์สมองจำนวนมากพร้อมๆกัน
-
โรคลมชัก คือกลุ่มอาการชักที่มีลักษณะการชักที่เกิดขึ้นซ้ำโดยไม่มีปัจจัยกระตุ้นชัดเจน และการได้รับยากันชักจะมีระดับของกรดโฟลิกต่ำ ทำให้เกิดความเสี่ยงกับทารกได้ และการให้กรดโฟลิกขนาดสูงทำให้ระดับยากันชักในกระแสเลือดลดลง เกิดอาการซีดกระตุ้นอาการชักได้
-