Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case 12 Term pregnancy with labor pain - Coggle Diagram
Case 12
Term pregnancy with labor pain
การประเมินสุขภาพมารดาหลังคลอด (13)
1.Background (ภูมิหลัง)
ข้อมูลส่วนบุคคล
มารดาหลังคลอด ชาวไทย อายุ 25 ปี ระดับการศีกษา กศนไม่ ได้ประกอบอาชีพ อาศัยอยู่อพาร์ตเม้น 8 ชั้น อยู่ชั้น 5 ใช้ลิฟต์ ไม่มีปัญหาด้านเศรษฐกิจ
น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 65 kg ส่วนสูง 158cm BMI 26.04
น้ำหนักปัจจุบัน 83 kg น้ำหนักที่ขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 18 kg
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว : ปฏิเสธการเจ็บป่วย
ประวัติการแพ้ : แพ้อาหารทะเล
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด
อดีต
ปี 2563 อายุครรภ์ 2 เดือน Spontaneous
สถานที่คลอด : รพ.สิรินธร
ปัจจุบัน
คลอดแบบ Normal labor เพศหญิง น้ำหนัก 3700 กรัม
สถานที่คลอด : รพ.ตำรวจ
G2P0A1 GA 39+1 wks by date
LMP 01/05/64 x 6 days
EDC 05/02/65
Total ANC 11 ครั้ง คลินิกจุฬาการแพทย์ 8 ครั้ง รพ.ตำรวจ 3 ครั้ง
ฝากครรภ์ครั้งแรก GA 9+4 wks by u/s
ประวัติการเจ็บป่วย
อดีต
ไม่มีโรคประจำตัว ปฏิเสธการเจ็บป่วยในครอบครัว แพ้อาหารทะเล ปฏิเสธการใช้สารเสพติดและแอลกอฮอล์
ปัจจุบัน
5 hrs.PTA เจ็บครรภ์คลอด มีมูกเลือด มีอาการปวดท้องนานครั้งละ 30 วินาที ทุก 5 นาที ลูกดิ้นดีมากกว่า 10 ครั้ง/วัน ปวดศีรษะทั้งวัน ไม่มีน้ำเดิน ไม่มีจุกแน่นลิ้นปี่ ไม่มีตาพร่ามัว ไม่มีปัสสาวะแสบขัด
อาการสำคัญ
เจ็บครรภ์คลอด 5 hrs.PTA
น้ำหนักรก 700 กรัม คลอดรกเวลา 10.24 น. Blood loss 300 ml
Body condition (สภาวะทั่วไปของร่างกาย)
Day 2 (01/02/65)
ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี พูดคุยรู้เรื่อง หายใจ room air ตา conjuntiva ไม่ซีด ไม่มีอาการคัดตึงเต้านม น้ำนมไม่ไหล (ระดับ0) ประเมิน latch score = 8 คะแนน มดลูกหดรัดตัว แผลฝีเย็บไม่บวมแดง ปวดแผลฝีเย็บ pain score = 5 น้ำคาวปลาสีแดงจาง ขากดไม่บุ๋ม สามารถลุกเดินไปเข้าห้องน้ำได้ ถ่ายเหลว 1 ครั้ง
Day 3 (02/02/65)
ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี พูดคุยรู้เรื่อง หายใจ room air ตา conjuntiva ไม่ซีด ไม่มีอาการคัดตึงเต้านม น้ำนมไม่ไหล (ระดับ0) ประเมิน latch score = 8 คะแนน มดลูกหดรัดตัว แผลฝีเย็บไม่บวมแดง ปวดแผลฝีเย็บ pain score = 2 น้ำคาวปลาสีแดงจาง ขากดไม่บุ๋ม สามารถลุกเดินไปเข้าห้องน้ำได้ ขับถ่ายปกติ
3.Body temperature & Blood
pressure
1/02/65
T = 37.1 องศาเซลเซียส
Pulse = 84 ครั้ง/นาที
RR = 18 ครั้ง/นาที
BP = 120/70mmHg
PS = 5
2/02/65
T = 36.9 องศาเซลเซียส
Pulse = 100 ครั้ง/นาที
RR = 18 ครั้ง/นาที
BP = 109/69 mmHg
PS = 2
Breast & Lactation
Day 2 (01/02/65)
คลำไม่พบก้อน ลานนมนิ่ม ไม่มีอาการคัดตึงเต้านม น้ำนมไม่ไหล (ระดับ0) ประเมิน latch score = 8 คะแนน
Day 3 (02/02/65)
คลำไม่พบก้อน ลานนมนิ่ม ไม่มีอาการคัดตึงเต้านม น้ำนมไม่ไหล (ระดับ0) ประเมิน latch score = 8 คะแนน
5..Belly & uterus
มดลูกหดรัดตัวดี ไม่มีอาการปวดเมื่อคลึงมดลูก Day2 = 4 นิ้ว
6.Bladder
ผู้ป่วยสามารถเดินไปปัสสาวะได้เอง
7.Bleeding & Lochia
Day 2 (01/02/65)
น้ำคาวปลามีสีแดงจางลง 20 ml ใน 1 ชั่วโมง เปื้อน pad เล็กน้อย
Day 3 (02/02/65)
น้ำคาวปลามีสีแดงจางลง 10 ml ใน 1 ชั่วโมง เปื้อน pad เล็กน้อย
8.Bottom
ตัดแผลฝีเย็บแบบ RML episiotomy ประเมินตาม REEDA แผลไม่บวมแดง ไม่ช้ำ ไม่มี bleeding ไม่มี discharge ขอบแผลเสมอกัน
9.Bowel movement
Day 2 (01/02/65)
สามารถขับถ่ายได้เอง ถ่ายเหลว 1 ครั้ง
Day 3 (02/02/65)
สามารถขับถ่ายได้เอง ขับถ่ายปกติ
10.Blues
Day 2 (01/02/65)
ผู้ป่วยสนใจบุตร นอนมองหน้าบุตร วิตกกังวลเนื่องจากบุตรมีภาวะตัวเหลือง
Day 3 (02/02/65)
วิตกกังวลเนื่องจากบุตรมีภาวะตัวเหลือง
11.Baby
ทารกเพศหญิง น้ำหนักแรกเกิด 3700 กรัม
Apgar score 9 10 10
12.Bonding & Attachment
ผู้ป่วยมีปฏิสัมพันธ์กับทารกดี เมื่อบุตรร้องผู้ป่วยอุ้ม ให้นมทุก 2-3 ชั่วโมง
การตรวจร่างกายตามระบบ
ผม - ไม่มีรังแค ผมไม่ร่วงสะอาดดี
ใบหน้า - ไม่มีอาการบวม
ตา - conjuntiva ไม่ซีด
ช่องปาก - ปากไม่แห้ง ไม่มีฟันผุ ไม่มีเลือดออก
คอ - คลำไม่โต ไม่พบก้อน
เต้านม - หัวนมสั้นทั้ง 2 ข้าง ไม่แตก คลำไม่พบก้อน
ขา - ไม่มีกดบุ๋ม ขาไม่บวม
การประเมินระดับยอดมดลูก
1/02/65 (Day2)
คลำระดับยอดมดลูกอยู่ที่ 2/3 ต่ำกว่าสะดือ
วัดยอดมดลูกได้ 4 นิ้ว
การประเมินแผลฝีเย็บ
1/02/65 (Day2)
ประเมินด้วย REEDA ตัดแผลฝีเย็บแบบ RML episiotomy แผลไม่บวมแดง ไม่ช้ำ ไม่มี bleeding ไม่มี discharge ขอบแผลเสมอกัน
Problem list
Day 2 (01/02/65)
หัวนมสั้น
วิตกกังวลเกี่ยวกับบุตร
ปวดแผลฝีเย็บ PS=5
น้ำนมยังไม่ไหล
การให้คำแนะนำก่อนกลับบ้าน
การให้นมบุตร
หลักการ 4 ด
ดูดเร็ว = เข้าเต้าเร็วใน 1 ชม
ดูดบ่อย = ควรให้บุตรดุดทุก 2-3 ชม
ดูดถูกวิธี = ท่าอุ้มให้นมถูกต้อง อมให้ถึงลานนม ดูดทั้งสองข้าง ควรให้ดูข้างที่คัดตึงก่อน การถอนหัวนมให้ใช้นิ้วสอดเข้าไปที่มุมปากลูกและหัวนมแม่ ค่อยๆถอยออกจากปากลูก
ดูดเกลี้ยงเต้า = ให้บุตรดูดนมแม่ให้นาน จนถึงน้ำนมส่วนหลังที่มีไขมัน นมแม่มีส่วนช่วยในเรื่องพัฒนาการสมอง สายตาและการเจริญเติบโต การดูดเกลี้ยงเต้าจะทำให้ร่างกายแม่สร้างน้ำนมใหม่ น้ำนมไม่อุดตัน ป้องกันน้ำนมแม่ลดลง
ประโยชน์ของนมแม่
ต่อมารดา
มดลูกหดรัดตัวดี มดลูกเข้าอู่เร็ว
ป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งรังไข่
เป็นการคุมกำเนิดแบบธรรมชาติ เนื่องจาก prolactin สูง ยับยั้งการตกไข่
ต่อบุตร
ได้รับสารอาหารครบถ้วน
ได้รับภูมิต้านทานโรค ลดการเกิดภูมิแพ้
ย่อยง่าย ทำให้บุตรท้องไม่ผูก
เสริมสร้างสายสัมพันธ์ระหว่างบุตรและมารดา
ท่าอุ้มที่เหมาะสำหรับคือ Football hold เนื่องจากมารดามีหัวนมสั้น สามารถเข้าเต้าได้ลึก
การปฏิบัติตัวหลังคลอด
1.ให้ดื่มน้ำสะอาดเยอะๆ อย่างน้อย 8-10 แก้ว/วัน
2.หากมีอาการปวดมดลูกมาก สามารถรับประทานยาแก้ปวดได้
3.เปลี่ยนผ้าอนามัยทุก 2-3 ชั่วโมง ไม่ว่าจะเลือดออกหรือไม่ หรือเปลี่ยนทุกครั้งที่ขับถ่าย ห้ามใช้ผ้าอนามัยแบบสอด
4.ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ากด้านหน้าไปด้านหลัง ไม่ควรแช่ตัวในอ่างน้ำหรือน้ำคลอง
6.ควรนอนพักผ่อนอย่างน้อย 6-8 ชม
7.งดการมีเพศสัมพันธ์อย่างน้อย 6 สัปดาห์ เนื่องจากมดลูกยังไม่ปิด อาจติดเชื้อได้
8.ไม่ควรยกของหนักหรือขึ้นบันไดบ่อยๆ
9.สามารถออกกำลังกายเบาๆ ด้วยท่ากายบริหารที่ง่าย
5.หากมีอาการคัดตึงเต้านม ให้ประคบอุ่นและนวดเต้านม แนะนำให้นมทารกบ่อยๆ ทุก 2-3 ชั่วโมง ให้ทารกกินนมให้หมดเต้า สลับซ้ายขวา ไม่ให้ค้างเต้า
10.เน้นย้ำเรื่องการพบแพทย์ตามนัด 6 wk หลังคลอด
การประเมินน้ำคาวปลา
Lochia rubra 1-3 วันแรก สีแดงเข้ม
Lochia serosa 4-9 วันแรก สีแดงจาง ชมพู
Lochia alba 10 วัน สีขาวครีม เป็นมูก
หากพบน้ำคาวปลามีสีผิดปกติหรือมีกลิ่นเหม็นควรรีบมาพบแพทย์ เนื่องจากอาจเกิดการติดเชื้อได้ เรียก Foul lochia
การคุมกำเนิด
ยาคุมกำเนิดแบบกิน
แนะนำให้กินยาคุมชนิดออร์โมนเดี่ยวที่มี progesterone ขนาดน้อย (minipil) เพราะยาตัวนี้ไม่ผ่านทางน้ำนม จะไม่มีผลต่อน้ำนมและทารก อาจจะคุมร่วมกับการใช้ถุงยางก็ได้
ยาคุมกำเนิดแบบฉีด
มีแบบชนิด 1 เดือน และ 3 เดือน ไม่มีผลต่อน้ำนม ช่วยในเรื่องการลืมกินยาคุม เริ่มฉีดครั้งแรกในตอนที่มาตรวจ 6 wk หลังคลอดได้เลย
ยาคุมกำเนิดแบบฝัง
มีเข็มคุม 3 ปี และ 5 ปี ไม่มีผลต่อน้ำนม คุมได้นานกว่า เริ่มฝังครั้งแรกในตอนที่มาตรวจ 6 wk หลังคลอดได้เลย หากต้องการมีบุตร ให้นำออก ประจำเดือนจะเริ่มมาปกติ
ถ้าอยากมีบุตร แนะนำให้มารดาเว้นช่วง 2-3 ปี
อาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์
มีเลือดสดออกทางช่องคลอด
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น มีสีที่ผิดปกติ หรือน้ำคาวปลามีสีแดงเข้มขึ้นอีก หลังจากมีสีจางแล้ว ซึ่งแยกออกจากประจำเดือน
หลังคลอด 2 wk ยังคลำพบก้อนทางหน้าท้อง
มีไข้
เต้านมอักเสบ กดเจ็บ แดง
ปัสสาวะบ่อย แสบขัด
ปวดบริเวณอุ้งเชิงกราน
แผลฝีเย็บแยก บวมแดง มีหนอง
โภชนาการ
ทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ เน้นอาหารประเภทโปรตีน เพิ่มปริมาณแคลเซียม ธาตุเหล็ก ดื่มน้ำวันละ 2500-3000 ml
อาหารเพิ่มน้ำนม (ในรายที่ไม่มีข้อจำกัด) เช่น หัวปลี ฟักทอง ใบกะเพรา ขิง พริกไทย มะละกอ ตำลึง มะรุม
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.มารดาเสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอดเนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี (Day 2)
ข้อมูลสนับสนุน
-ผู้ป่วยคลอดแบบ Normal labor
-มีแผลฝีเย็บ
-มีแผลในโพพรงมดลูก
-blood loss จากการคลอด 300 ml
-ไม่ได้รับการกระตุ้นจากการดูดนม
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการตกเลือดหลังคลอด
เกณฑ์การประเมิน
1.สัญญาณชีพ อยู่ในเกณฑ์ปกติ
T=36.5 - 37.4 องศาเซลเซียส
PR=60-100 ครั้ง/นาที
RR=16-22 ครั้ง/นาที
BP=90-120/60-80 mmHg
2.มดลูกหดรัดตัวดี
3.เลือดออกทางช่องคลอดไม่เกิน 50 ml ใน 1 ชั่วโมง
4.แผลฝีเย็บดี ไม่มีเลือดออก ไม่มี hematoma
5.ไม่มีอาการแสดง คือ ตัวเย็น กระสับกระส่าย หน้ามืด เวียนหัว ใจสั่น เหงื่ออกมาก
กิจกรรมการพยาบาล
1.ติดตามและประเมิน v/s ทุก 4 ชั่วโมง รวมถึงสังเกตอาการทั่วไป อาการผิดปกติของผู้ป่วย
2.ตรวจดูการหดรัดตัวของมดลูก คลึงมดลูกให้กลมแข็ง
3.ดูแลให้ผู้ป่วยปัสสาวะ เพราะหากกระเพาะปัสสาวะเต็ม อาจขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูกได้
4.สังเกตและบันทึก ลักษณะ ปริมาณที่ออกจากช่องคลอด และแผลฝีเย็บ
5.ประเมินแผลฝีเย็บตามหลัก REEDA ดูว่ามีเลือดออก มี hematoma หรือไม่
และสังเกตอาการของภาวะตกเลือด เช่น ซึม อ่อนเพลีย เหงื่อออก ตัวเย็น เป็นต้น
การประเมินผล
สัญญาณชีพปกติ T= 36.9 องศาเซลเซียส Pulse = 100 ครั้ง/นาที RR = 18 ครั้ง/นาที BP = 109/69 mmHg PS = 2 ผู้ป่วยอาการปกติ ไม่มีกระสับกระส่าย มดลูกหดรัดตัวดี มี bleeding per vagina 10 ml ใน 1 ชม แผลฝีเย็บปกติ ไม่บวมแดง ไม่มีhematoma
2.มารดาเสี่ยงต่อการติดเชื้อหลังคลอด (Day 2)
ข้อสนับสนุน
-ผู้ป่วยคลอดแบบ normal labor มีแผลฝีเย็บ tare ระดับ 2 และมีแผลในโพรงมดลูก
-ผู้ป่วยบอกว่าปวดแผลฝีเย็บ pain score=5
วัตถุประสงค์
ป้องกันการติดเชื้อในร่างกาย
เกณฑ์การประเมิน
1.แผลฝีเย็บดีขึ้น ไม่บวมแดง ไม่ช้ำ ขอบแผลเสมอกัน อาการปวดแผลฝีเย็บลดลง
2.น้ำคาวปลาปกติ ไม่มีกลิ่น
3.มารดามีความรู้และปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลฝีเย็บได้ถูกต้อง
กิจกรรมการพยาบาล
1.ติดตามและประเมิน v/s รวมถึงประเมิน pain score ทุก 4 ชั่วโมง
2.สังเกตและประเมินแผลฝีเย็บด้วย REEDA และสังเกตอาการของภาวะการตกเลือด เช่น ซึม อ่อนเพลีย เหงื่อออก ตัวเย็น เป็นต้น
3.สังเกตและประเมินลักษณะน้ำคาวปลา
4.สังเกตและบันทึกปริมาณ bleeding per vagina เพื่อประเมินภาวะการตกเลือด
5.แนะนำการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ให้ล้างด้วยสบู่และน้ำสะอาดทุกครั้งหลังการขับถ่าย โดยเช็ดจากหน้าไปหลัง เปลี่ยนผ้าอนามัย ทุก 2-3 ชั่วโมง หรือหลังขับถ่าย
6.กระตุ้นให้ลุกเดินบ่อยๆ และฝึกขมิบช่องคลอด (kegel's exercise) วันละ 300-400 ครั้ง เพื่อช่วยให้เลือดไปเลี้ยงแผลได้ดีขึ้น
การประเมินผล
สัญญาณชีพปกติ T= 36.9 องศาเซลเซียส Pulse = 100 ครั้ง/นาที RR = 18 ครั้ง/นาที BP = 109/69 mmHg
PS = 2 ผู้ป่วยอาการปกติ ไม่มีกระสับกระส่าย มดลูกหดรัดตัวดี มี bleeding per vagina แผลฝีเย็บปกติ ไม่บวมแดง ไม่มีhematoma
3.มารดามีความวิตกกังวลเกี่ยวสุขภาพของตัวเองและทารก
ข้อสนับสนุน
-มารดาถามว่า "ทำไมน้ำนมไม่ไหล"
-มารดามีสีหน้าวิตกกังวล
-ทารกมีภาวะตัวเหลือง
-มีประวัติแท้งในครรภ์แรก
วัตถุประสงค์
เพื่อลดความวิตกกังวล
เกณฑ์การประเมิน
1.มารดามีสีหน้าวิตกกังวลลดลง สีหน้าสดชื่น พูดคุยเป็นกันเอง 2.มารดามีความเข้าใจถึงการเลี้ยงดูทารก สามารถเลี้ยงดูทารกได้ถูกต้อง
กิจกรรมการพยาบาล
1.เปิดโอกาสให้มารดาระบายความวิตกกังวลเกี่ยวกับสุขภาพของตัวเองและทารก
2.ตรวจความผิดปกติของเต้านม เช่น ลักษณะหัวนม ไม่แบน ไม่บอดหรือไม่บุ๋ม และประเมิน Latch score เพื่อดูคะแนนการเข้าเต้า ซึ่งปกติควรได้มากกว่า 8 คะแนน
3.แนะนำให้เลี้ยงดูบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียวนานอย่างน้อย 6 เดือน กระตุ้นให้มารดาเข้าเต้าทุก 3 ชั่วโมง
4.แนะนำให้มารดาประคบอุ่น บริเวณเต้านม นวดคลึงเต้านม กระตุ้นให้น้ำนมไหล ขณะที่ทารกไม่ได้ดูดนม สามารถปั๊มนมเก็บไว้ในตู้เย็นให้ทารก
5.สอนเทคนิคการให้นมอย่างถูกวิธี โดยอุ้มในท่าที่ถูกต้อง เน้นหลักการดูด 4 ด ได้แก่ ดูดเร็ว ดูดบ่อย ดูดถูกวิธี ดูดเกลี้ยงเต้า
6.แนะนำให้ดื่มน้ำมากๆ วันละ 8-10 แก้ว หรือ 2500-3000 ml เพื่อการทำงานของลำไส้ที่ดีขึ้นและส่งเสริมการผลิตน้ำนมได้ดีขึ้น
7.แนะนำให้รับประทานอาหารประเภทโปรตีนและวิตามิน จากเนื้อสัตว์ ไข่ นม ผักและผลไม้ หลีกเลี่ยงอาหารหมักดอง
8.แนะนำให้รับประทานอาหารเพิ่มน้ำนม เช่น หัวปลี ฟักทอง ใบกะเพรา ขิง พริกไทย มะละกอ ตำลึง มะรุม
9.เปิดโอกาสให้มารดาได้ซักถามข้อสงสัย และให้กำลังใจในการเลี้ยงดูทารก
10.เน้นย้ำให้มารดามาตรวจตามที่แพทย์นัด ตามนัด 6 สัปดาห์หลังคลอด เมื่อมีอาการผิดปกติต้องมาก่อนนัด เช่น มีไข้ มีเลือดสดออกทางช่องคลอด น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น หลังคลอด 2 wk ยังคลำพบก้อนทางหน้าท้อง แผลฝีเย็บแยก บวมแดง มีหนอง
การประเมินผล
มารดาคลายความวิตกกังวล มีสีหน้าสดชื่นขึ้น เข้าใจถึงการเลี้ยงดูทารก สามารถเลี้ยงดูทารกได้ถูกต้อง