Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Chapter 2 การเเก้ปัญหาเเละขั้นตอนวิธี - Coggle Diagram
Chapter 2
การเเก้ปัญหาเเละขั้นตอนวิธี
“การเเก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์”
-ปัญหาที่สามารถเเก้ได้ด้วยคอมพิวเตอร์ ไม่จำเป็นต้องมีปัญหาทางคณิตศาสร์เสมอไป
-ก่อนจะเเก้ปัญหาต้องเข้าใจปัญหาเเละความต้องการให้ชัดเจนเเล้วค่อยพัฒนาขั้นตอนวิธีสามารถใช้งานได้
ขั้นตอนการเเก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ มี 7 วิธี
1.การนิยามปัญหา สิ่งสำคัญที่สุด คือเราต้องทำความเข้าใจให้ได้ว่าปัญหาคืออะไร
การวิเคราะห์ปัญหา ให้พิจารณาที่
•การหาผลลัพธ์ของปัญหา(output) ว่าคืออะไร
•มีข้อมูลนำเข้า (input) อะไรบ้างที่จะทำให้ได้ผลลัพธ์
•ระบุวิธีการประมวลผล (process) ต้องทราบวิธีการประมวลผล หรือวิธีคิดให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ
3.การออกแบบอัลกอริทึม การออกแบบอัลกอริทึม เป็นการคิดหาขั้นตอนการเเก้ปัญหาที่ละขั้น เราต้องคิดว่าจะทำอย่างไรจึงจะเเก้ปัญหาได้ เเละนำมาแปลงเป็นคำสั่งของภาษาโปรเเกรม
4.การพัฒนาโปรแกรม
•นักเขียนโปรเเกรม (program) ต้องนำเอาคำอธิบายของขั้นตอนการเเก้ปัญหาเเต่ละขั้นตอนจากอัลกอริทึมมาแปลงเป็นภาษาของโปรเเกรมคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง
5.การทดสอบความถูกต้อง การทดสอบ(Testing)เพื่อหาข้อผิดพลาดจากการเขียนคำสั่ง ไวยากรณ์ของภาษา หรือข้อผิดพลาดจากคำนวณ
6.การจัดทำเอกสาร การจัดทำเอกสารมีได้ 2 แบบ
1-จัดทำเอกสารคู่มือผู้ใช้
2-เอกสารคู่มือพัฒนา ซึ่งเอกสารนี้มีความสำคัญต่อองค์กร เพราะช่วยให้การบำรุงรักษาโปรเเกรมทำได้ง่ายขึ้น เเละใช้อ้างอิงในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆ ในระบบ
7.การบำรุงรักษา การดูแลรักษาให้ระบบสามารถใช้งานได้นานที่สุดโดยจะต้องดูเเลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรเเกรมและอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในระบบ ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ
ข้อมูที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของคอมพิวเตอร์
•ข้อมูลเข้า (input) เป็นข้อมูลที่ใช้เพื่อประมวลผล
•ข้อมูลออก (output) เป็นข้อมูลที่แสดงผลลัพธ์
•การระบุข้อมูลเข้า เเละข้อมูลออก อาจจะไม่สามารถทำได้อย่างชัดเจน จึงต้องทำความเข้าใจกับปัญหามากขึ้น
“การออกแบบขั้นตอนวิธี”
เครื่องมือในการออกแบบขั้นตอนวิธี ประกอบด้วย
•บรรยาย (narrative description)
•รหัสเทียม (pseudo code)
•ผังงาน (flowchart)
1.การบรรยาย การออกแบบขั้นตอนวิธีด้วยการบรรยาย เป็นการเขียนบรรยายวิธีการเเก้ปัญหาอย่างเป็นลำดับ
2.รหัสเทียม เป็นการเขียนโปรเเกรมในรูปแบบภาษาอังกฤษที่มีขั้นตอนเเละรูปแบบเเน่นอนกะทัดรัด
3.ผังงาน เป็นการใช้สัญลักษณ์ เพื่ออธิบายขั้นตอนการทำโปรเเกรม
“การทำซ้ำ”
การทำซ้ำ คือ
-การทำงานลักษณะเดียวกันหลายรอบ
-ลดจำนวนการเขียนขั้นตอนวิธี
-อธิบายขั้นตอนวิธีที่ซับซ้อนให้เข้าใจง่าย
-โปรเเกรมมีขนาดเล็ก
รูปแบบของการทำซ้ำ
-การทำซ้ำในรายการ เช่น การสอบถามข้อมูลนักศึกษารายบุคคลจนครบทุกคน
-การทำซ้ำในรายการจะต้องพิจารณาข้อมูลครบทุกตัว
ผังงานการทำซ้ำ
เป็นรูปแบบที่มีการกระทำกระบวนการหนึ่งหลายๆครั้งโดยมีเงื่อนไขในการควบคุม
•การทำงานแบบตามลำดับ(sequence)
•การทำงานแบบมีเงื่อนไข(condition)
“การจัดเรียงเเละค้นหาข้อมูล
•ขั้นตอนวิธีในการจัดเรียงข้อมูล (Sort)
•การค้นหาข้อมูล (Search)
การจัดเรียงข้อมูล
การจัดเรียงข้อมูลเป็นสิ่งที่พบอยู่เสมอ เมื่อต้องการประมวลผลข้อมูลจำนวนมาก การเรียงลำดับข้อมูลด้วยเงื่อนไขที่เหมาะสม จะทำให้การค้นหาข้อมูลทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การค้นหาข้อมูล
เป็นการหาตำเเหน่งของข้อมูลตามค่าคีย์ โดยมีอัลกอริทึมการค้นหา
“รูปแบบของการค้นหาข้อมูลมีดังนี้”
•การค้นหาแบบตามลำพัง(sequential search)
•การค้นหาแบบ ทวิภาค (Binary search)