เมทาบอลิซึม (Metabolism)

โปรตีน

ไขมัน

คาร์โบไฮเดรต (carbohydrate)

ประเภทของคาร์โบไอเดรต

คาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน

คาร์โบไฮเดรตเชิงเดี่ยว

ไกลโคไลพิด (Glycolipid)

นิวคลีโอไทด์ (Nucletide)

ไกลโคโปรตีน (Glycoprotein)

Disaccharide

Polysaccharide

Monosaccharide

Glucose

Galactose

Fructose

กลูโคสและคาร์โบไฮเดรตตัวอื่นมีส่วนในวิถีเมแทบอลิซึมอันหลากหลายในสปีชีส์ต่าง ๆ พืชสังเคราะห์คาร์โบไฮเดรตจากแก๊สในบรรยากาศโดยการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งเก็บพลังงานที่ดูดซับมาไว้ภายใน มักอยู่ในรูปของแป้งหรือลิพิด

กลูโคสในทางเมแทบอลิซึมมีความสำคัญอย่างสูงโดยเป็นแหล่งพลังงานแก่เซลล์กล้ามเนื้อ สมองและเซลล์เม็ดเลือดแดง

เป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวที่เกิดเมแทบอลิซึมได้ในสิ่งมีชีวิตแทบทุกชนิด

Maltose

Lactose

Sucrose

ไกลโคเจนและแป้ง

เซลล์ลูโลส

ไคติน

การสังเคราะห์

กลูโคส

ไกลโคเจน

Gluconeogenesis

Glycogenolysis

Glycogenesis

การสังเคราะห์กลูโคสจากสารที่ไม่ใช่คาร์โบไฮเดรต เช่น กรดแลคติค กลีเซอรอล และกรดอะมิโนกลูโคจีนิก (glucogenic amino acid) โดยกระบวนการนี้จะเกิดขึ้นในช่วงที่มีการออกกำลังกายอย่างหนัก อดอาหาร และการรับประทานอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตน้อยเกินไป

เป็นการสลายตัวของไกลโคเจนให้เป็นกลูโคสหรือเเลคเตตตามความต้องการของร่างกาย เช่น ในตับสลายไกลโคเจนเป็นกลูโคส ส่วนในกล้าเนื้อจะสลายไกลโคเจนเป็นเเลคเตตหรือไพรูเวท

เมทาบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต

สร้างไกลโคเจน

ปฏิกิริยาตรึงคาร์บอน (C) เกิด CO2 จะถูกรีดิวซ์เป็นคาร์โบไฮเดรต

เพนโตสฟอสเฟส

วัฎจักรกรดซิตริก

ไกลโคไลสิส (Glycolysis)

เกิดขึ้นที่เมทริกซ์ จะเป็นสถานะของเหลวในไมโทคอนเดรีย โดยมีการสลายแอซิทิลโคแอนไซม์ A เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และเก็บสะสมไว้ในรูปแบบของ NADH , FACH2 และ ATP

เปลี่ยนกลูโคสส่วนเกินไปเป็นไกลโคเจน เป็นกลไกในการเก็บสะสมของเซลล์เกิดที่ตับ

การสังเคราะห์กรดไขมัน

เมทาบอลิซึมของลิพิด

เริ่มจากสารตัวกลางที่มีคาร์บอน 3 อะตอม

การสร้างกรดไขมันจากacetyl-CoAและNADPHผ่านการกระทำของเอนไซม์ที่เรียกว่าsynthases กรดไขมัน กระบวนการนี้จะเกิดขึ้นในพลาสซึมของเซลล์ acetyl-CoA ส่วนใหญ่ซึ่งถูกเปลี่ยนเป็นกรดไขมันนั้นได้มาจากคาร์โบไฮเดรตผ่านทางวิถีไกลโคไลติก
เส้นทางไกลโคไลติกยังให้กลีเซอรอล

ไมโทคอนเดรีย

ปฏิกิริยาเคมีที่มีการถ่ายทอดอิเล็กตรอน

กระบวนการเมทาบอลิซึม

การสร้างเเละสลาย

กรดไขมัน

บีตา-ออกซิเดชัน (beta-oxidation)

เอซิลโคเอ (acyl CoA)
ซึ่งจะต้องใช้พลังงาน 2 ATP

หนึ่งโมเลกุลของแอซีทิลโคเอได้พลังงาน 5 ATP

ไตรกลีเซอไรด์

ไตรเอซีลกลีเซอรอล (triacylglycerol) เป็นสารในกลุ่มลิพิด (lipid) ซึ่งเป็น
ส่วนประกอบหลักของน้ำมันและไขมันที่ใช้เป็นอาหาร โมเลกุลของไตรกลีเซอไรด์ เกิดจากการรวมตัวของกรดไขมัน (fatty acid) 3 โมเลกุล
กับกลีเซอรอล 1 โมเลกุลด้วยพันธะเอสเทอร์โดยที่กรดไขมันทั้งสามโมเลกุล (R1, R2, R3) ในโมเลกุลของไตรกลีเซอไรด์

ลิโพโปรตีน

ลิพิด

โปรตีน

เกิดจาก

พา Cholesterol
ไปในกระเเสดเลือดไปยังเซลล์ต่างๆทั่วร่างกาย

หน้าที่

กรดอะมิโนถูกสลายโดยการออกซิเดชัน

ระหว่างการสังเคราะห์และสลายโปรตีนในสภาวะปกติ กรดอะมิโนบางตัว ถูกปลดปล่อยจากการสลายโปรตีนแต่ไม่ได้นำกลับมาใช้สังเคราะห์โปรตีนใหม่จึงถูกสลายไป

เมื่อกินอาหารที่เป็นโปรตีนมาก กรดอะมิโนที่มากเกินความต้องการของร่างกายจะถูกสลาย กรดอะมิโนไม่สามารถถูกสะสมไว้ได้

ระหว่างการอดอาหาร เมื่อคาร์โบไฮเดรตไม่เพียงพอ โปรตีนจะถูกนำมาใช้ในการให้พลังงาน

การสลายกรดอะมิโนในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

การสลายกรดอะมิโน

การสลายโปรตีนที่กล้ามเนื้อ

Alanine ช่วยขนส่งแอมโมเนียจากกล้ามเนื้อลายไปยังตับ

เป็นกระบวนการสังเคราะห์ไกลโคเจนจากน้ำตาลกลูโคสที่ตับและกล้ามเนื้อในภาวะที่ร่างกายได้รับคาร์โบไฮเดรตมากเเละใช้งานได้โดยอินซูลินในการตอบสนองสูงระดับน้ำตาล

การสังเคราะห์กรดอะโน

3-Phosphoglycerate

a-Ketoglutarate

Oxaloacetate

Pyruvate

Phosphoenolpyruvate and erythrose 4-phosphate

Arginine

Glutamine

Proline

Glutamate

Serine

Glycine

Cysteine

Asparagine

Methionine

Aspartate

Threonine

Lysine

Alanine

Valine

Leucine

Isoleucine

Phenylalanine

Tryptophan

Tyrosine

Ribose 5-phosphate

ATP

Histidine

Acetoacetyl CoA

NH4+

Pyruvate

Urea cycle

กิจกรรมทางเคมีที่เกิดขึ้นเฉพาะสิ่งมีชีวิต

การเจริญเติบโต

การซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ

การสร้างพลังงาน

กำจัดของเสีย

Catabolism

Anabolism

การย่อยแป้ง>กลูโคส>ATP

ปฏิกิริยาที่ย่อยสลายสารประกอบขนาดใหญให้เป็นสารโมเลกุลขนาดเล็กและปล่อยพลังงานเคมีที่อยู่ในพันธะโมเลกุลนั้นๆ

เรียกว่า Exergonic

ปฏิกิริยาที่สร้างหรือรวมตัวเอาโมเลกุลขนาดเล็กให้เป็นโมเลกุลขนาดใหญ่

เกิดจากการรวมตัวของโมเลกุลหลายโมเลกุล

เกิดจากแป้ง

ไกลโคเจน

ปฏิกิริยา reduction

ปฏิกิริยา oxidation

ปฏิกิริยาที่มีโมเลกุลเกิดจากการสูญเสียอิเล็กตรอน

ปฏิกิริยาที่โมเลกุลได้รับอิเล็กตรอน

การสลายของแอมโมเนียทำให้เกิดวัฏจักรยูเรียขับออกในรูปปัสสาวะ

click to edit

นิวคลีอิก

การสลาย DNA และ RNA

RNA (ribonucleic acid)

DNA (deoxyribonucleic acid)

การสังเคราะห์ไธมิโดเลต (dTMP) จาก dCDP และ dUMP

dTMP ยังสามารถสังเคราะห์จากเบส thymine โดยวิธี Salvage pathway

ใน DNA จะมีเบสเป็นเบส thymine โดย thymine สังเคราะห์มาจาก dUMP เร่งโดยเอ็นไซม์ Thymidylate synthase

การสลายกรดนิวคลีอิก

เกิดการ turnover ของ unstable mRNA หรือการเกิด DNA repair ภายในเซลล์ โดยจะเกิดการสลายกรดนิวคลีอิก เมื่อเซลล์ตายหรือย่อยสลายกรดนิวคลีอิกในอาหารที่รับประทานเข้าไป

การสังเคราะห์ deoxyribonucleotides

โดยปฏิกิริยามีการรีดักชันที่2’-hydroxy ของ ribose แล้วเกิดเป็น deoxyribose เร่งโดยเอ็นไซม์ ribonucleotide reductase และใช้อะตอมไฮโดรเจนจาก NADPH

Deoxyribonucleotides (dATP, dGTP, dCTP และdUDP; จะถูกเปลี่ยนเป็น dTTP) เป็นสารตั้งต้นในการสังเคราะห์ DNA โดยจะถูกสังเคราะห์มาจาก ribonucleoside diphosphates (ADP, GDP, CDP และ UDP)

การสังเคราะห์นิวคลีโอไทด์

Salvage pathway

การสังเคราะห์ pyrimidine nucleotides

การสังเคราะห์ purine nucleotides

เอนไซม์ hypoxanthine-guanine phophoribosyltransferase (HGPRT)

เอนไซม์ adenine phosphoribosyltransferase (APRT)

เป็นการสังเคราะห์นิวคลีโอไทด์จาก free base กับ 5-phophoribosyl-l-pyrophosphate (PRPP, activated ribose-5-phosphate) โดยพวก free base หรือพวก nucleosides ต่างๆ ที่มาจากอาหารหรือการย่อยสลายกรดนิวคลีอิก

De novo pathway

การสังเคราะห์ pyrimidine nucleotides

เป็นการสังเคราะห์นิวคลีโอไทด์จากสารตั้งต้นที่มีขนาดเล็ก เช่น กรดอะมิโน, ribose-5-Phosphate, CO2, NH3

สไลด์อาจารย์ที่ใช้ในการสอน

อ้างอิง

รายชื่อสมาชิก
1.นางสาวรักษิณา เพชรเอี่ยม เลขที่ 79
2.นางสาวรุจาภา เผ่าวงศากุล เลขที่ 81
3.นางสาวรุจาภา พูลสมบัติ เลขที่ 82
4.นางสาวลิลิตาภัสร์ ไชยวัฒน์เธียรกุล เลขที่ 83
5.นางสาวลักษิกา กันดารี เลขที่ 84
6.นายวงศธร สังข์ครุฑ เลขที่ 85