Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ดนตรีพื้นบ้านไทยกับอาเซียน, image image, image, image, image, image, image…
ดนตรีพื้นบ้านไทยกับอาเซียน
ภาคเหนือ
สำเนียง ภาษา และเนื้อร้อง
บ่งบอกถึงความเป็นเอกลักษณ์ของดนตรีท้องถิ่น
มีสำเนียงไพเราะ อ่อนหวาน
นุ่มนวล โปร่งสบาย และเนิบช้า
มีการบรรเลงดนตรีที่มีจังหวะตื่นเต้น คึกคัก
คล้ายกัมพูชา
สะล้อ - Tro Khmer
องค์ประกอบของดนตรีและบทเพลง
มีสีสันและมีความแตกต่างกันไปตามแต่ะกลุ่มวัฒนธรรมดนตรี
โครงสร้างของดนตรีพื้นบ้านภาคเหนือ ทำนองเพลงเรียบง่าย สั้น ช้า
เน้นการเคลื่อนที่ของทำนองเพลง
เพลงฟ้อนต่างๆ
เร็วเร้าใจ เช่น วงปี่กลอง
เครื่องดนตรีและวงดนตรี
มีเอกลักษณ์เฉพาะ สะล้อ เป็นเครื่องดนตรีประเภทสี
วงดนตรีพื้นบ้านล้านนา
มีชื่อเรียกแตกต่างกัน เช่น วงสะล้อซอซึง หรือวงสะล้อซึง วงสะล้อขลุ่ย
ดนตรีที่ใช้เพื่อการแข่งขันประชัน
เสียง มีกรรมการ เช่น แข่งตีกลองหลวง แข่งวงกลองยาว
ภาคอีสาน
องค์ประกอบของดนตรีและบทเพลง
ลักษณะเรียบง่าย มีจังหวะและทำนองที่สนุกสนาน
เร้าใจ ให้ความสนุกสนา แก่ผู้ฟัง
มีการประสานเสียงระหว่างผู้ขับร้องและการบรรเลงดนตรีที่
สนุกสนาน
ประกอบพื้นบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จะประกอบไปด้วย เครื่องดนตรี วงดนตรี ทำนองเพลงที่ปรากฏ ลีลา ทำนอง และจังหวะ
ทำนองเพลงค่อนข้างเร็ว โดยมีเครื่องประกอบจังหวะกำกับ แต่วงกันตรึมมีรูปแบบที่เรียบง่าย
ดนตรีเพื่อการแข่งขันประชันเสียง มีกรรมการ เช่น เส็งกลอง แข่งกลองยาว
แข่งวงโปงลาง แข่งหมอลำ แข่งวงกันตรึม
สำเนียง ภาษา และเนื้อร้อง
สำเนียงที่เรียบง่าย ถ้าเป็นกลุ่มอีสานเหนือ
จะมีสำเนียงภาษาที่มีสำเนียงคล้ายภาษาลาว
เครื่องดนตรีและวงดนตรี
กลองกันตรึม หลองตุ้ม กลองหาง หมากกั๊บแก๊บ แคน ฆ้องน้อย ฆ้องหุ่ย ซอบั้ง ตรัวอู้ ตรัวเอก โดยนำมาผสมผสานเป็นวงดนตรีพื้นบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
วงดนตรี เช่น วงกันตรึม วงแคนพิณโหวด วงโปงลาง วงตุ้มโมง
คล้ายเวียดนาม
โปงลาง - Dan Trung
ภาคใต้
องค์ประกอบของดนตรีและบทเพลง
มี 3 วัฒนธรรมหลัก คือ วัฒนธรรมไทยพุทธ วัฒนธรรมไทยมุสลิม วัฒนธรรมชาวไทยเชื้อสายจีน
มีทำนองเพลงกระชับ รวดเร็ว ให้จังหวะที่หนักแน่น เช่น วงดนตรีโนรา หนังตะลุง วงโต๊ะครึม ส่วนวงรองเง็งเน้นที่ทำนองเพลงและจังหวะที่มี
วัตถุประสงค์เพื่อให้ง่ายต่อการเต้น
สำเนียง ภาษา และเนื้อร้อง
สำเนียงที่ใช้ในภาคใต้มีสำเนียงห้าวและห้วน มีจังหวะ
และทำนองที่คึกคักและหนักแน่น สะท้อนถึงลักษณะของคนภาคใต้
มีลักษณะดนตรีที่หลากหลาย
ให้ความสนุกสนานครื้นเครงแก่ผู้ฟัง
การบรรเลงวงดนตรีส่วนใหญ่จะใช้เครื่องตีและเป่ามีทั้งบรรเลงประกอบบการแสดงท้องถิ่น แสดงถึงวัฒนธรรมของชาวใต้ เช่น การบรรเลงดนตรีประกอบรำตาลีกีปัต
เครื่องดนตรีและวงดนตรี
เครื่องดนตรีส่วนใหญ่จะเป็นเครื่องสี ตี เป่า
สำหรับวงดนตรีพื้นบ้านภาคใต้ประกอบไปด้วยวงกาหลอ วงรองเง็ง วงกลองสิงโต วงตือรี วงโต๊ะครึม วงดนตรีโนรา วงดนตรีหนังตะลุง วงดนตรีซีละ วงดนตรีมะโย่ง วงดนตรีลิเกป่า
โอกาสที่ใช้บรรเลงนิยมบรรเลงในงานต่างๆ วงกาหลอนิยมบรรเลงในงานศพ และ วงหนังตะลุง ใช้ประกอบการแสดงหนังตะลุง เป็นต้น
คล้ายพม่า
กาหลอ - Hne
ภาคกลาง
สำเนียง ภาษา และเนื้อร้อง
ใช้ภาษาไทยกลางในการสื่อสาร
คล้ายกัมพูชา
กลองทัด - Rebana
เครื่องดนตรีและวงดนตรี
ประกอบไปด้วยเครื่องดนตรีไทยแบบแผน
ยมเล่นในงาน หรือพิธีกรรมต่างๆ ของชาวบ้าน
เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเงในวงดนตรีพื้นบ้านภาคกลาง ประกอบไปด้วย ปี่ ขลุ่ย ระนาด ฆ้อง ตะโพน กลองทัด
กลองแขก กลองมลายู กลองยาว อังกะลุง
เครื่องดนตรีในวงแตรวง
ทรอมโบน
แซกโซโฟน คลาริเน็ต กลองชุด ฉาบ
วงดนตรี
วงปี่พาทย์ต่างๆ วงเครื่องสาย วงมโหรี
วงอังกะลุง วงแตรวง
ดนตรีเพื่อการแข่งขัน ประชันเสียง มีกรรมการ เช่น แข่งวงปี่พาทย์
แข่งวงแตรวง แข่งวงกลองยาว
องค์ประกอบของดนตรีและบทเพลง
ประกอบไปด้วยเครื่องดนตรี วงดนตรี ทำนองเพงที่ปรากฏลีลา ทำนอง และจังหวะ วัฒนธรรม
มีความสัมพันธ์กับดนตรีแบบแผน
โครงสร้างของดนตรีพื้นบ้านกลาง มีทำนองเพลงที่มีความซับซ้อน มีขนาดของ เพลงยาวกว่าภาคอื่น โดยเฉพาะเพลงของปี่พาทย์ แตรวง เครื่องสายมโหรี
น.ส.ฐิติรัตน์ เมฆศรีสุวรรณ M501 #14