Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลง 2, นางสาวแกมกาญจน์ แก้วล้ำ…
บทที่ 3 พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลง 2
วัยรุ่น (อายุ12-20ปี)
-วัยรุ่นตอนต้น หรือเรียกว่า วัยรุ่นแท้/วัยแรกรุ่น (Pre adolescence / Early adolescence / Puberty) อายุ12-16ปี -วัยรุ่นตอนปลาย (Adolescence / Late adolescence) อายุ17-20ปี
เรียกได้ว่าเป็น
วัยหัวเลี้ยวหัวต่อ
(Transitional Period)
พัฒนาการด้านร่างกาย มีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะต่อมใต้สมองและต่อมเพศสมบูรณ์ขึ้น
พัฒนาการด้านอารมณ์ จะมีการเปลี่ยนแปลงง่าย สับสน อ่อนไหวและรุนแรง วัยรุ่นต้องเรียนรู้ในการปรับตัว ต้องเตรียมตัวเข้าสู้วัยผูัใหญ่ มีภาระหน้าที่ต้องรับผิดชอบมากขึ้น
พัฒนาการด้านสังคม กลุ่มเพื่อนจะมีอิทธิพล มักเลือกเข้ากลุ่มที่มีความสนใจ ทัศนคติ ค่านิยม ความเชื่อ ลักษณะทางสังคมใกล้เคียงกัน มีการเลียนแบบบุคคลที่ชอบ เริ่มสนใจเพศตรงข้าม อยากรู้อยากเห็น อยากลอง
ปัญหาช่องว่างระหว่างวัย (Generation Gap) มักเกิดกับวัยรุ่นและผู้ใหญ่มากว่า
พัฒนาการด้านความคิด มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ มีวธีแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผลมากขึ้น สามารถคิดรวบยอดได้
วัยผู้ใหญ่ (20-60ปีขึ้นไป)
วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (Adulthood) 20-40ปี อวัยวะทุกส่วนทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาการด้านอารมณ์ดีมาก พัฒนาการด้านสังคม ให้ความสำคัญกับเพื่อนน้อยลง ให้ความสำคัยในเรื่องการเลือกอาชีพ คู่ครอง การสร้างครอบครัว
วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง/วัยกลางคน (Middle Age) 40-60ปี
พัฒนาการด้านความร่างกาย ประสิทธิภาพด้านการทำงานของอวัยวะลดลงม้โอกาสเจ็บป่วยได้ง่าย
พัฒนาการด้านอารมณ์และสังคม วัยนี้ส่วนใหญ่จะประสบความสำเร้จด้านหน้าที่การงานมีความมั่นคงทางการเงิน ผู้ใหญ่ในบางคนอาจต้องเผชิญกับ
ภาวะวิกฤตตอนกลางของชีวิต
(Mid-life crises) คือ ภาวะที่มีอาการผันผวนของอารมณ์
วัยผู้สูงอายุ/วัยชรา (Old Age) 60ปีขึ้นไป
พัฒนาการด้านร่างกาย เป็ยวัยที่มีการเสื่อมทั้งด้านร่างกายและสมอง ความยือหยุนของเอ็นร้อยหวายลดลง เคลื่อนที่ไม่คล่องแคล่ว ได้ยินไม่ชัดเจน ระบบภูมิคุ้มกันมีประสิทธิภาพลดลงทำให้เสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่าย
พัฒนาการด้านอารมณ์และสังคม มีอารมณ์เหงาและว้าเหว่ รู้สึกขาดที่พึ่งพิงไร้ค่า กลัวการถูกทอดทิ้ง การสร้างเสริมสุขภาพจิตในวัยนี้เป็นสิ่งสำคัญ
ขั้นตอนพัฒนาการทางสังคมของอิริคสัน (Psychosocial developmental stage)
การริเริ่มแย้งกับรู้สึกผิด (Initiative versus Guilt )
อายุประมาณ 4-5ปี วัยนี้อยากเรียนรู้สิ่งรอบๆตัว ชอบฝันและมีความคิดสร้างสรรค ถ้าพ่อแม่สนับสนุน ไม่ทะนุถนอนหรือตีกรอบมากเกินไป จะช่วยให้เด็กแสวงหาวิธีการหรือทำกิจกรรมด้วยตนเอง รู้จักคิดหาวิธีแก้ปัญหา
หากพ่อแม่คอยควบคุมสอดส่องดูแลพฤติกรรทลูกตลอดเวลา คอยห้ามหรือปกป้องมากเกินไป เด็กจะเกิดความรู้สึกว่าตนเอวผิดเมื่อพยายามทำอะไรด้วยตนเอง กลายเป็นคนมีความขัดแย้งในตนเองไม่กล้าแสดงออก
ความไม่ไว้วางใจแย้งกับความไม่ไว้วางใจผู้อื่น (Trust versus Mistrust)
ช่องแรกเกิดถึง1ปี ช่วงวัยที่ทารกต้องการความรัก/ถูกอุ้ม ชวนคุยหรือเล่นจากผู้เลี้ยงดู
ทารกเรียนรู้ที่จะไว้วางใจสิ่งแวดล้อม แต่หากไม่ได้รับการตอบสนองจะเกิดอาการหวั่นกลัว ไม่ไว้วางใจผู้อื่น รวมทั้งไม่ไว้วางใจตนเองด้วย
ความเป็นอิสระขัดแย้งกับความไม่แน่ใจ (Autonomy versus Self-doubt)
อายุประมาณ 2-3ปี เริ่มเรียนรู้ที่จะทำกิจกรรมด้วยตนเอง หากผู้เลี้ยงดูเปิดโอกาสสนับสนุนให้เด็กฝึกกระเบียบวันัยของตนเอง จะทำให้เด็กรู้จัก
ควบคุมตนเอง เป็นตัวของตัวเอง และรู้จักตัดสินใจด้วยตนเอง
หากพ่อแม่เคร่งครัด เข้มงวดเกินไป เลี้ยงดูแบบปกป้องมากเกินไป เด็กจะขาดความเชื่อมั่นในตนเอง ชอบพูดปด ในทางกลับกันเด็กเป็นตัวของตัวเอวมากเกินไป จะทำให้เด็กเข้ากับคนได้ยาก
การเอาการเอางานแย้งกับรู้สึกมีปมด้อย (Industry versus Inferiority)
อายุประมาณ 6-11ปี เรียนรู้ที่จะสร้างสรรค จัดกิจกรรมด้วยตนเอง ถ้าสนับสนุน และไม่คาดหวังกับเด็กมากเกินไป เด็กจะพัฒนาเป็นคนมีความเพียรพยายาม
แต่หากไม่ได้รับการสนับสนุนเด็กจะมีความรู้สึกมีปมด้อยต่ำต้อย ไร้ค่า ขาดแรงจูงใจในการมุ่งมั่นทำงานให้สำเร็จ
การค้นพบอัตลักษณ์แห่งตนแย้งกับความสับสนในตนเอง (Identity versus Role Confusion)
อายุประมาณ12-18ปี สับสนระหวางจะเชื่อฟังพ่อแม่ หรือเพื่อนดี หรือคงความเป็นเอกลักษณ์ของตนเองดี
หากไม่สามาถแก้ไขปัญหาได้ จะทำให้เกิดความสับสนในบทบาทของตนเองกลายเป็นผู้ใหญ่ที่ไม่มีความมั่นคง ไม่กล้าตัดสินใจ
ความใกล้ชิดสนิทสนมแย้งกับความเปล่าเปลี่ยว (Intimacy versus Isolation)
ช่วงผู้ใหญ่ตอนต้น จะสามารถสร้างและแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น มีการช่วยเหลือแบ่งปันและเชื่อถือไว้ใจกัน
วนบุคคลที่ล้มเหลวในการค้นพบอัตลักษณ์จะไม่สมารถสร้างความสัมพันธ์อย่างแน่แฟ้นกับคนอื่นๆได้
7.การอนุเคราะหืเกื้อกูลแย้งกับเห็นแก่ตัว (Generativity versus Self-absorption)
ช่วงวัยกลางคน จะหันมาสนใจโลกภายนอก ริเริ่มสร้างสรรค์งานต่งๆ คิดถึงผู้อื่น ไม่โลภหรือเห็นแก่ได้
หากไม่สามารถพัฒนาได้ จะหมกมุ่น เห็นแก่ตัว มีชีวิตอย่างไม่มีความสุข
8.ความมั่นคงทางใจแย้งกับสิ้นหวัง (Integrity versus Despair)
แต่หากที่ผ่านมาพบแต่ความผิดหวัง ล้มเหลว ยึกติดกับอดีต จะร้สึกเศร้าสิ้นหวัง บางคนอาจคิดฆ่าตัวตาย
วัยผู้ใหญ่ตอยปลาย วัยที่หวนคิดถึงประสบการณ์ในอดีต ว่าที่ผ่านมาประสบความสำเร็จ มีความสุข พอใจในตนเอง ไม่หวั่นไหวกับบางสิ่งบางอย่างที่เปลี่ยนไป
นางสาวแกมกาญจน์ แก้วล้ำ รหัสนิสิต6340402913