Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฏีการเรียนรู้กลุ่มมนุษย์นิยม - Coggle Diagram
ทฤษฏีการเรียนรู้กลุ่มมนุษย์นิยม
หลักการหรือความเชื่อของทฤษฎีมนุษย์นิยม คือ
มนุษย์มีธรรมชาติแห่งความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้
มนุษย์มีสิทธิในการต่อต้านหรือไม่พอใจในผลที่เกิดขึ้นจากสิ่งต่างๆ แม้สิ่งนั้นจะได้รับการยอมรับว่าจริง
3.การเรียนรู้ที่สำคัญที่สุดของมนุษย์ คือ การที่มนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงแนวความคิด หรือมโนทัศน์ของตนเอง
ทฤษฎีความต้องการของมนุษย์ของ Maslow
มาสโลว์มองว่าธรรมชาติแล้วมนุษย์เกิดมาดี และพร้อมที่จะทำสิ่งดี ถ้าความต้องการพื้นฐานได้รับการตอบสนองอย่างเพียงพอ
มนุษย์ทุกคนล้วนมีความต้องการและจะสนองความต้องการให้กับตนเองทั้งสิ้น ซึ่งความต้องการเรียงจากความต้องการขั้นต่ำสุดขึ้นไปหาความต้องการขั้นสูงสุด
ความต้องการขั้นต่ำสุดขึ้นไปหาความต้องการขั้นสูงสุด ดังนี้
2) ความต้องการความปลอดภัย
3) ความต้องการความรักและเป็นเจ้าของ
4) ความต้องการที่จะเป็นที่ยอมรับและ ได้รับการยกย่อง
5) ความต้องการที่จะตระหนักในความสามารถของตนเองหรือรู้จักตนเอง
6) ความต้องการที่จะรู้และที่จะเข้าใจ
7) ความต้องการทางด้านสุนทรียะ
1) ความต้องการทางด้านร่างกาย
ทฤษฎี client centered ของโรเจอร์
กระบวนการพัฒนาการค่านิยม (Organizing Valuing Process)
การยอมรับจากผู้อื่น (Positive Regard from others)
การยอมรับตนเอง (Self-Regard)
ภาวะของการมีคุณค่า (Conditions or Worth)
3) ทฤษฎีการพัฒนาตนเองของคอมบ์ส
เชื่อว่า "พฤติกรรมส่วนใหญ่ของบุคคล เป็นผลมาจากการรับรู้สิ่งแวดล้อมในช่วงนั้นและเวลานั้น"
ผู้สอนควรจะต้องพยายามเข้าใจสภาพการเรียนการสอน โดยการทำความเข้าใจว่าผู้เรียนมองสิ่ง ต่างๆอย่างไร
การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตนเอง มีการแบ่งหน้าที่ให้ผู้เรียนแต่ละคนให้มีบทบาทในชั้นเรียนเท่าๆ กัน
ควรจัดการเรียนตามสภาพจริง หรือสภาพที่แตกต่างกันของแต่ละบุคคล
ควรจัดการเรียนรู้โดยไม่ยึดติดกับเงื่อนไขหรือข้อจำกัดทางวัฒนธรรมของสังคม
ควรจัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ว่าชีวิต และสิ่งต่างๆ ล้วนเป็นสิ่งมีค่า ให้ผู้เรียนเห็นค่าในตนเองและเหตุการณ์ทุกเหตุการณ์
ครูควรให้ความเข้าใจผู้เรียน ควรเป็นคนใจกว้าง ไม่ยึดติดกับความคิด หรือความเชื่อของตนเอง ควรรับฟังผู้เรียนให้มากขึ้น
ควรจัดการเรียนรู้ตามความต้องการหรือความต้องการของผู้เรียน