Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคติดต่อจากการสัมผัสและเพศสัมพันธ์ - Coggle Diagram
โรคติดต่อจากการสัมผัสและเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แผลริมอ่อน (Cancroid/ Soft chancre)
อาการ
ต่อมาต่อมน้ำเหลืองขาหนีบโตติดกันเป็นพืด สีแดงคล้ำและนุ่ม อาจแตกเป็นหนองได้ โตข้างเดียว อาจมีหนาวสั่น ไข้ เบื่ออาหาร
มีแผลเล็กๆที่ปลายอวัยวะเพศ ลักษณะแผลเปื่อย ขอบไม่แข็งและไม่เรียบ เวลาแตะถูกจะมีเลือดซึม มีหลายแผล
การป้องกัน
ไม่เปลี่ยนคู่นอนหลายคน
สวมถุงยางอนามัยถุงครั้งที่มีเพศสัมพันธ์
รักษาความสะอาด
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย
Haemophilus Ducreyi
เริม (Herpes)
อาการ
ผู้ติดโรคบางรายอาจมีไข้และมีต่อมน้ำเหลืองโตได้ โดยเฉพาะบริเวณขาหนีบ
ตุ่มน้ำใสและแผลเจ็บที่
บริเวณอวัยวะเพศ
การป้องกัน
สวมถุงยางอนามัยถุงครั้งที่มีเพศสัมพันธ์
ไม่เปลี่ยนคู่นอนบ่อยๆ
สาเหตุ
ติดเชื้อไวรัส Herpes Simplex Virus
หนองในเทียม (Non gonococcal urethritis)
อาการ
เพศหญิง อาจไม่มีอาการ ส่วนน้อยมีตกขาว
เพศชาย แสบปลายท่อปัสสาวะ มีหนองไหล เป็นมูกใส หรือ มูกขุ่นๆ ไม่เป็น
หนอง
การป้องกัน
งดการมีเพศสัมพันธ์จนกว่าจะหาย
รับประทานยาให้ครบแผนการรักษาและพบแพทย์ตามนัด
ไม่เปลี่ยนคู่นอนหลายคน
สวมถุงยางอนามัยถุงครั้งที่มีเพศสัมพันธ์
สาเหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจาก คลามิเดียทราโคมาติส (Chlamydia trachomatis) หรือ ยูเรียพลาสมายูไลทิคัม (Ureaplasma urealyticum)เชื้อโปรโตซัว ทริโคโมแนสวาจินาลิส (Trichomonas vaginalis) แต่ที่พบบ่อยคือเชื้อ Chlamydia
โรคเอดส์ (AIDS)
อาการ
เป็นการติดเชื้อถาวร โรคอาจไม่มีอาการอะไรเลย
การป้องกัน
ตรวจคัดกรองโรค
แม่ที่ติดเชื้อเอดส์ไม่ควรเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ไม่ใช้สิ่งของร่วมกับผู้อื่น
สวมถุงยางอนามัยถุงครั้งที่มีเพศสัมพันธ์
สาเหตุ
เชื้อไวรัส HIVทำลายเม็ดเลือดขาว
หนองใน (Gonorrhea)
อาการ
เพศหญิง ตกขาวเป็นหนอง เหม็น ไม่คัน แสบขัดเวลา
ปัสสาวะ ไข้สูง หนาวสั่น กดเจ็บแบบปีกมดลูกอักเสบ
เพศชาย แสบลำกล้องเวลาถ่ายปัสสาวะ
ปัสสาวะขัด มีหนองไหลออกมาทางท่อปัสสาวะ เริ่มจากเป็นมูกใส
ต่อมาเป็นหนองเหลืองข้น
การป้องกัน
ไม่เปลี่ยนคู่นอนหลายคน
สวมถุงยางอนามัยถุงครั้งที่มีเพศสัมพันธ์
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรียไนซ์ซีเรีย โกโนร์เรีย
(Neisseria Gonorrhoeae)
ซิฟิลิส (Syphilis)
อาการ
ระยะที่ 2 เข้าข้อออกดอกเชื้อเข้าน้ำเหลืองกระจายตัวทั่วร่างกาย มีผื่นทั่วตัว
รวมทั้งฝ่ามือฝ่าเท้า
ระยะที่ 3 ระยะทำลาย เชื้อเข้าสู่สมองและไขสันหลังทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
เช่น อัมพาต บ้านหมุน ชัก เสียสต
ระยะที่ 1 เป็นแผลเป็นตุ่มเล็กๆ ต่อมาแตกและเป็น
แผลกว้าง ขอบแผลเรียบและแข็ง มักมีแผลเดียว หรือ สองแผลติดกัน รูปกลมหรือ
วงไข่ ไม่เจ็บไม่คัน
การป้องกัน
ไม่เปลี่ยนคู่นอนหลายคน
สวมถุงยางอนามัยที่มีเพศสัมพันธ์ทุกครั้ง
สาเหตุ
เชื้อซิฟิลิส Treponema pallidum จากการร่วมเพศ
เชื้อเข้าทางรอยถลอก หรือบาดแผลเล็กน้อย
โรคติดต่อจากการสัมผัส
โรคเหา
อาการ
คันระคายเคืองบริเวณหนังศรีษะ
การป้องกัน
สระผมให้สะอาดเป็นประจำ ซักผึ่งแดด ผ้าเช็ดตัว เครื่องนอน
ควรตรวจเหาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้ง
ไม่คลุกคลี ใช้หวี ผ้าเช็ดตัว ร่วมกับผู้เป็นเหา
สาเหตุ
Pediculus humanus
humnusเป็นเหาที่อาศัยอยู่ตามร่างกาย
Phthirus pubis เป็นเหาที่อาศัยอยู่ที่อวัยวะสืบพันธุ์
Pediculus humanus capitis เป็นเหาที่อาศัยอยู่บนศีรษะ
โรคเกลื้อน (Tinea Versicolor)
อาการ
เป็นผื่นและมีขุยอยู่รอบรูขุมขน ผื่นมีทั้งสีจางและสีเข้ม หรือชมพูอ่อนๆ อยู่ต่อกัน เป็นแผ่นใหญ
การป้องกัน
ไม่สวมเสื้อผ้าที่อับชื้น รัดเกินไป
ไม่ใช้สิ่งของร่วมกับผู้อื่น
รักษาความสะอาดร่างกาย
สาเหตุ
เชื้อรา Malassezia furfur
โรคมือ เท้า ปาก (Hand, Foot and Mouth Disease)
อาการ
มีไข้
มีตุ่มแดงบนฝ่ามือ ฝ่าเท้าลำตัว
มีแผลในปาก
การป้องกัน
แยกเด็กที่เป็นโรค
ทำความสะอาดสถานที่ สิ่งของเครื่องใช้ หรือของเล่นด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
รักษาสุขอนามัย
สาเหตุ
เอนเทอโรไวรัส 71
คอกซากีไวรัส เอ16
โรคกลาก (Tinea)
อาการ
กลากที่ขาหนีบ หรือ สังคัง : เป็นตุ่มแดงๆที่ขาหนีบ ลาม
ไปที่อัณฑะ อวัยวะเพศภายนอก เป็นผื่นแดงๆเกล็ดขาวๆ ขอบชัดเจน คัน
กลากที่นิ้วเท้า หรือ ฮ่องกงฟุต : มักเป็นง่ามเท้าที่ 3,4,5 เป็นขุยขาวๆ และยุ่ย ลอกเป็นแผ่น เกล็ด แตกเป็นร่อง มีกลิ่น คัน
กลากศีรษะ: ผมร่วงเป็นหย่อมๆ หนังศีรษะเป็นขุยคัน
กลากที่เล็บ มักเป็นที่นิ้วก้อย เล็บด้านไม่เรียบตรง ขุ่น เล็บหนา ผุกร่อน
กลากลำตัว : เป็นตุ่มแดง ลามออก มีวงขอบชัดเจน ขอบนูนเล็กน้อยสีแดง มีตุ่มน้ำใสๆรอบๆ มีขุยขาวๆรอบวง
การป้องกัน
รักษาความสะอาดร่างกาย ให้แห้ง
ไม่สวมเสื้อผ้าอับชื้น รัดเกินไป
ไม่ใช้สิ่งของร่วมกับผู้ป่วย
สาเหตุ
เชื้อรา dermatophyte
ไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal Disease)
อาการ
อ่อนเพลีย
คลื่นไส้
ปวดศีรษะมาก
อาเจียน
มีไข้สูง
เจ็บคอ คอแข็ง
ปวดเมื่อยกล้มเนื้อ ปวดข้อ
มักมีผื่นเลือดออกใต้ผิวหนัง
การป้องกัน
ฉีดวัคซีน
กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือบ่อยๆ สวมหน้ากากอนามัย
ไม่ไปอยู่ในที่แออัด
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรียไนซีเรีย เมนิงไจทิดิส (Neisseria Meningitidis)
โรคตาแดง (Conjunctivitis)
อาการ
อาจพบเลือดออกในตา
น้ำตาไหล
หากติดเชื้อแบคทีเรียร่วมด้วยอาจมีขี้ตาข้น จนถึงเป็นหนองได้
ระคายเคืองในตา
การป้องกัน
ดูแลอนามัยส่วนบุคคลให้ดี
กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือบ่อยๆ สวมหน้ากากอนามัย ไม่ไปในที่แออัด
ไม่คลุกคลีกับผู้ป่วย งดใช้ของร่วมกับผู้อื่น
สาเหตุ
เกิดได้ทั้งเชื้อไวรัสและแบคทีเรีย พบบ่อยเกิดจาก เชื้อกลุ่ม adenovirus ได้แก่ Entero virus 70 และ Coxsackie A24
เมลิออยโดสิส (Mwlioidosis)
อาการ
มีไข้สูงเป็นเวลานาน มีเนื้อตาย
ไม่มีอาการจำเพาะ หรืออาจไม่มีอาการทางคลินิก จนถึงมีเนื้อตาย แผล ฝี หนองที่ปอด ตับ หรือม้าม และหรือมีการติดเชื้อทางกระแสโลหิตอย่างรวดเร็ว
การป้องกัน
ดื่มน้ำต้มสุก หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารสุกๆดิบๆ
ใส่รองเท้าบู๊ตเมื่อจำเป็น ต้องลุยหรือย่ำน้ำเป็นเวลานาน
ทำความสะอาดร่างกายทันที หลังจากสัมผัสดินและน้ำ
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย Burkholderia pseudomallei (Psudomonas psudomalle)
โรคเรื้อน (Leprosy)
อาการ
มีอาการชา นิ้วมือนิ้วเท้า งอ เหยียดไม่ออก มือหงิก นิ้วกุด เท้าตก หรือตาบอด
ผื่นเป็นตุ่มหรือแผ่น ผิวมักแดงเป็นมันเลื่อม ไม่เจ็บ ไม่คัน ไม่ชา
กรป้องกัน
สังเกตอาการผิดปกติของผิวหนัง รีบรักษา
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium leprae