การป้องกัน ควบคุม และเฝ้าระวัง โรคจากการประกอบอาชีพ
ความหมายของโรคจากการประกอบอาชีพ
โรคจากอาชีพ Occupational Diseases
โรคเนื่องจากงาน Work related diseases
เกิดจากการสัมผัสสิ่งคุกคามตามสุขภาพในที่ทำงานโดยตรง
คนทำงาน + สิ่งคุกคาม =เจ็บป่วยจากการทำงาน
มีหลายสาเหตุจากปัจจัยหลายหลายอย่างประกอบกัน
พฤติกรรม
สภาพสังคม
พันธุกรรม
ครอบครัว
ลักษณะงาน
ชนิดของโรคซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงานหรือเนื่องจากการทำงาน
โรคระบบหายใจที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงาน
โรคผิวหนังที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงาน
โรคที่เกิดขึ้นจากสาเหตุทางชีวภาพ
โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงสร้างกระดูก
โรคที่เกิดขึ้นจากสาเหตุทางกายภาพ
โรคมะเร็งที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงาน
โรคที่เกิดขึ้นจากสารเคมี
โรคอื่นๆ ซึ่งพิสูจน์จนได้ว่าเกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงานหรือเนื่องจากการทำงาน
ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคจากการประกอบอาชีพ
สภาพสิ่งแวดล้อมในการทำงาน
สิ่งแวดล้อมทั่วไป
คนทำงานหรือผู้ประกอบอาชีพ
คุณสมบัติพื้นฐาน
พันธุกรรม
โรคประจำตัว
ความอ้วน
ประสบการณ์ทำงาน
ความสูง
อายุ
เพศ
พฤติกรรมทางสุขภาพของคนทำงาน
สิ่งสิ่งแวดล้อมในการทำงาน
สภาพการทำงาน
สิ่งแวดล้อมทางเคมี
สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
การวินิจฉัยโรคจากการประกอบอาชีพ
เกณฑ์การวินิจฉัยโรค
วัตถุประสงค์วินิจฉัยโรคเพื่อยืนยันว่า
องค์ประกอบของการวินิจฉัยโรคจากการทำงาน
พิสูจน์ว่าโรคเกิดจากสาเหตุการทำงานหรือไม่
ปัจจัยหรือสาเหตุที่ทำให้เกิดโรค
โรคนั้นเกิดขึ้นเนื่องจากการทำงานหรือไม่
โรคเกิดขึ้นจริง
ประวัติการเจ็บป่วย
การตรวจร่างกายโดยแพทย์
ประวัติส่วนตัว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
นการตรวจสภาพสิ่งแวดล้อมในการทำงาน
การใช้ข้อมูลทางระบาดวิทยา
รายละเอียดเกี่ยวกับสารเคมีที่สงสัยว่าทำให้เกิดโรค
การประเมินปัจจัยฉันอื่นๆนอกเหนือจากที่ทำงาน
การซักประวัติ
ประวัติทั่วไป
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติอาชีพ
สถานภาพสมรส
อายุ
ที่อยู่ตามบัตรประชาชนและที่อยู่ปัจจุบัน
ประวัติการศึกษา
เพศ
ประวัติงานอดิเรก
ประวัติการผ่าตัด
ประวัติการได้รับวัคซีน
ประวัติโรคประจำตัวและโรคเรื้อรัง
ประวัติการรับประทานยาประจำ
ประวัติการเจ็บป่วยและประวัติการบาดเจ็บในอดีต
ประวัติการดื่มแอลกอฮอล์และสูบบุหรี่
สิ่งคุกคาม
ลักษณะการสัมผัส
ลัษณะการทำงาน
ระยะเวลาที่ทำงาน
ชื่อสถานประกอบการ
ปีที่เริ่มทำงานและเลิกทำงาน
ชื่ออาชีพ
อุปกรณ์ป้องกันอันตราย
เอกสารความปลอดภัยในการทำงานกับสารเคมี
การสอบถามข้อมูลจากนายจ้าง
ฐานข้อมูลจากคอมพิวเตอร์
การเดินสำรวจโรงงาน
การป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพ
หลักการป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพ
การจัดการที่การสัมผัสสิ่งคุกคาม
การจัดการที่คนทำงาน
การจัดการที่สิ่งแวดล้อมในการทำงาน
การควบคุมที่ทางผ่าน
การควบคุมที่แหล่งกำเนิด
การควบคุมที่ตัวคน
การใช้สิ่งอื่นทดแทน
การลดปริมาณหรือลดความเข้มข้น
การกำจัดสิ่งคุกคาม
การเพิ่มความทนทานหรือความต้านทาน
การป้องกันไม่ให้คนที่มีความไวรับต่อโลกเข้ามาทำงานที่เสี่ยง
การเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพ
ศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
การเฝ้าระวัง
การตรวจติดตาม
การตรวจติดตามทางสิ่งแวดล้อม
การตรวจติดตามทางชีวภาพ
การตรวจคัดกรอง
การสำรวจ
วัตถุประสงค์ของการเฝ้าระวังโรคจากการทำงาน
เพื่อทราบถึงลักษณะการดำเนินของโรคจากการทำงานลักษณะทางระบาดวิทยาและปัจจัยคุกคามที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคจากการทำงาน
เเพื่อทราบถึงลักษณะของสถานประกอบการและกลุ่มคนงานที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค
เพื่อทราบสถานการณ์และแนวโน้มของการเกิดโรคจากการประกอบอาชีพ
เพื่อทราบถึงแนวทางในการป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยต่างๆที่เป็นสาเหตุของโรคทั้งการทำงาน
ประเภทของการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพ
การเฝ้าระวังสิ่งคุกคามสุขภาพ
การเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ
วัตถุประสงค์ของการเฝ้าระวังสิ่งคุกคามสุขภาพในสิ่งแวดล้อมของการทำงาน
การเฝ้าระวังสิ่งคุกคามสุขภาพอาจใช้ชีวัดสภาวะหรือความเสี่ยงทางสุขภาพได้
การเฝ้าระวังสิ่งคุกคามสุขภาพจะช่วยป้องกันในระดับปฐมภูมิหากมีการเฝ้าระวังที่ดี
เพื่อควบคุมป้องกันโรคจากการทำงานที่อาจเกิดขึ้น
การดำเนินงานเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพ
การวิเคราะห์ข้อมูล
การแปลผลข้อมูล
การรวบรวมข้อมูล
ารกระจายข่าวสาร
การเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่
การสำรวจ
การเฝ้าระวังเชิงรับ
การเก็บข้อมูลโดยอาศัยข้อมูลจากแหล่งอื่นๆ
การเฝ้าระวังเชิงรุก
ประโยชน์ของการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพ
เป็นแนวทางการวางแผนให้การรักษาพยาบาล
เป็นข้อมูลขึ้นฐานการศึกษาวิจัย
ทำให้ทราบกลุ่มประชากรที่เสี่ยง
เป็นแนวทางในการปรับปรุงมาตรการการป้องกันและควบคุมสภาพสิ่งแวดล้อมในการทำงาน
เป็นเครื่องมือในการประเมินผลโครงการ
ใช้เป็นพยานหรือหลักฐานประกอบการจ่ายเงินทดแทนให้กับคนงานได้
นำไปใช้ในการประกอบการตัดสินใจในการวางแผนและกำหนดนโยบายสาธารณะสุข
ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการศึกษาเพื่อออกกฎระเบียบข้อบังคับ
นำไปสืบค้นผู้ป่วยรายอื่นๆ
กระตุ้นเตือนประชาชนและคนทำงานให้ตระหนักเห็นถึงความสำคัญของปัญหา
หลักการจัดบริการตรวจสุขภาพพนักงาน
หลักการและคำแนะนำในการตรวจสุขภาพพนักงาน
การจัดระบบการตรวจสุขภาพพนักงานตามความเสี่ยง
ตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยง