Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผป่วยที่มีพยาธิสภาพ ในระบบทางเดินหายใจ, นายอรรคเดช เพชรมีศรี…
การพยาบาลผป่วยที่มีพยาธิสภาพ
ในระบบทางเดินหายใจ
Infection
Emphysema
อาการ หายใจตนและไอ หัวใจเต้นรัว เกิด ภาวะซึมเศร้า น้ำหนักลด เหนื่อยง่าย
สาเหตุ -การสูบบหรี่ -มูลพิษในอากาศ -ควนพิษหรือสารเคมี
การรักษา -รักษาด้วยยา -การฉีดวัคซีน -การบำบัด -การผ่าตัด
ถุงลมโป่งพอง (Emphysema) เป็นโรคที่อยู่ในกลุ่มของโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Chronic Obstructive Pulmonary Disease: COPD) เกิดจากการอักเสบและแตกของเนื้อปอดทบริเวณถุงลมปอด ทำให้เนื้อปอดมีถุงลมเล็กๆ มากมายคล้ายพวงองุ่น และรวมกับถุงลมที่อยู่ ติดกันจนกลายเป็นถุงลมขนาดใหญ่ ทำให้มีพื้นผิวในการแลก เปลี่ยนออกซิเจนในปอดลดลงหรือมอากาศค้างในปอดมากกว่าปกติ
การวินิจฉัย -การเอกซเรย์หรือการตรวจ CT Scan -การตรวจเลือดเพื่อดูปริมาณออกซิเจนและ คาร์บอนไดออกไซดฺในเลือด -ตรวจด้วยเครื่องวัดออกซิเจนในเลือด (Pulse Oximetry) -ตรวจสอบการทำงานหรือสมรรถภาพของปอด -การตรวจ ECG
Empyema thoracis
ภาวะแทรกซ้อน 1.ปอดบวมน้ำ หรือมเลือดคงในปอด 2.เยื่อหุ้มปอดอกเสบ ทั้งชนิดมีน้ำและไม่มีน้ำ 3.มีหนองในโพรงเยื่อหุ้มปอด
การรักษา การรักษาโดยทั่วไป -ให้ร่างกายได้รับสารน้ำที่เพียงพอ -รับประทานอาหารอ่อนบ่อยๆครงละน้อยๆ -การคั่งค้างของเสมหะ ให้ดมน้ำมากๆหรือให้ยาละลายเสมหะ
การพยาบาล -ดูแลบำบัดระบบทางเดนหายใจ -ดูแลสมดุล สารน้ำและอิเล็คโทรลัยตใหอยู่ในเกณฑ์ปกติ -ระยะแรกควรให้อาหารอ่อนๆ -ใหผู้ป่วยพักผ่อนใหเพียงพอ -ให้ยาลดไข และเช็ดตัวลดไข -ดูแลความสะอาดปากและฟัน
โรคติดเชื้อหนอง ในช่องเยื่อหุ้มปอด(empyema thoracis) เป็นโรคแทรกซ้อนทพบบ่อยในการตดเชอ ที่ปอด (pneumonia) ผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อที่ปอด จะมีโอกาสเป็นโรคติดเชื้อหนอง ในช่องเยื่อหุ้มปอดได้
Bronchitis
อาการ ไอ มีเสมหะ หายใจลำบาก หอบเหนื่อย แน่นหน้าอก อาจหายใจมเสยงดังหวีดได้ อาจมี อาการเจ็บคอ แสบคอ หรือเจบหนาอกได้ ผู้ป่วยอาจมไข้ รสกครั่นเนื้อ ครั่นตัวได้
การติดต่อ ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส การติดต่อผ่านทางน้ำมูก น้ำลายและเสมหะ โดยการหายใจเอาเชื่อที่อยู่ในละอองฝอยกระจายอยู่ในอากาศ จากการไอหรือหายใจรดกัน ระยะเวลาแพร่เชื้อสามารถแพร่ได้ก่อนเกิดอาการและหลงเกิดอาการ
การรักษา 1.ให้สารนให้เพียงพอ 2.ให้ยาลดไขและเช็ดตัวในรายที่มีไขสูง 3.ให้ยาขยายหลอดลมชนิดพ่นฝอยละออง 4.ให้ยาปฏิชีวนะ 5.ทำ Chest physiotherpy
โรคหลอดลมอกเสบ (bronchitis) เป็นโรคที่เกดจากการอักเสบ ของเยื่อบุหลอดลม ซึ่งเป็นทอทนลม หรืออากาศทหายใจเขาสู่ปอด ทำให้เยื่อบหลอดลมบวม มีเสมหะในหลอดลม 1.โรคหลอดลมอักเสบชนิดเฉียบพลัน (acute bronchitis) 2. โรคหลอดลมอักเสบชนิดเรื้อรัง (chronic bronchitis)
Non-infection
Asthma
อาการ ผู้ป่วยโรคหอบหืดจะมีอาการไอ มี เสมหะ แน่นหน้าอก หายใจไม่อิ่ม หายใจมเสียงหวีด และเหนื่อยหอบ โดยอาการจะเป็นๆ หายๆ ส่วนใหญ่ เป็นช่วงกลางคนหรือเช้ามืด และหลัง จากสัมผัสปัจจัยกระตุ้นต่างๆ
การวินิจฉัย 1. การซักประวัติ 2.ตรวจร่างกายโดยเฉพาะการฟังเสียงปอดทั้งสองข้าง 3.ตรวจทางห้องปฎิบัติการ -การตรวจสมรรถภาพปอดด้วยวิธี spirometry -การตรวจ Peak Expiratory Flow (PEF)
โรคหอบหืดเกิดได้จาก 2 ปัจจัยหลัก 1. ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม 2. ปัจจัยทางพันธุกรรม
การรักษา ยาทำใช้รักษาโรคหอบหืดมีทั้งชนิดสูดพ่นและยารับประทาน ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม -กลุ่มยาควบคุมหรือระงับการอักเสบของหลอดลม -กลมยาบรรเทาอาการ แพทย์จะประเมินผลการรักษาด้วยยาเป็นระยะ และอาจต้องปรับเปลี่ยนหรือลด-เพิ่มขนาด ของยาตามความจำเป็นเพอให้การควบคมโรคเป็นไปอย่างมประสิทธิภาพ
Pleural effusion
อาการ -หอบ หายใจถ หายใจลบากเมื่อนอนราบ หรือหายใจเขาลึกๆ ลำบาก -ไอแห้งและมีไข้ เนื่องจากปอดตดเชื้อ -สะอึกอย่างต่อเนื่อง -เจ็บหน้าอก
การวินิจฉัย -การสอบถามประวัติทางการแพทย์และการตรวจรางกาย -เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Computerized Tomography: CT Scan) -อัลตราซาวด์ (Ultrasound) -การวเคราะห์ของเหลวภายในชองเยื่อหุ้มปอด (Pleural Fluid Analysis
ภาวะที่มีน้ำในชองเยื่อหุ้มปอด อาจเกิดจากการอักเสบ ภาวะน้ำเกิน มีโอกาสพัฒนาไป Empyema thoracis เป็นจากการเปลี่ยนแปลงของนมความเข้มข้นเพิ่มขึ้น
การรักษา -การระบายของเหลวออกจากชองเยื่อหุ้มปอด -Pleurodeis -การผ่าตัด
COPD
อาการ – ในระยะเริ่มแรก ผู้ป่วยจะยังไม่มีอาการปรากฎ จนกระทั่งปอดถูกทำลายมากขึ้น ผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการไอเรื้อรัง มีเสมหะมากโดยเฉพาะ ในช่วงเช้าหลังตื่นนอน รู้สึกเหนื่อยหอบ หมดเรี่ยวแรง หายใจลำบาก แน่นหน้าอก หายใจมีเสียงหวีด – เมื่อโรคลุกลามมากขึ้น ผู้ป่วยจะมีอาการเหนื่อยหอบมากจนไม่สามารถทำกิจกรรมต่างๆ ได้ตามปกติ น้ำหนักลดลงอย่างมาก ในระยะ ท้ายของโรคมักพบการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ ภาวะหายใจวาย (respiratory failure) และหัวใจด้านขวาล้มเหลว
การวินิจฉัย – การตรวจสมรรถภาพปอดด้วยวิธี spirometry -การตรวจภาพรังสีทรวงอก หรือเอกซเรย์ปอด - CT Scan -การตรวจวเคราะห์แก๊สในเลือดแดง (arterial blood gas)
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Chronic Obstructive Pulmonary Disease หรือ COPD) เป็นกลุ่มของโรคปอดอักเสบเรื้อรัง คือ หลอดลม เนื้อปอด และหลอดเลือดปอดเกิดการอักเสบเสียหายเนื่องจากได้รับแก๊สหรือสารที่ก่อให้เกิดการระคายเคี่องเป็น เวลานาน ส่งผลให้หลอดลมค่อยๆ ตบแคบลงหรือถูกอัดกั้นโดยไม่อาจฟื้นคืนสู่สภาพปกติได้อีก
การรักษา 1. เลกสูบบุหรี่ เนี่องจากบุหรี่เป็นสาเหตุและปัจจยเสี่ยงที่สำคัญ 2. หลีกเลยงมลพิษในอากาศ และการอยู่ในสถานที่ที่มีละอองสารเคมี 3.รักษาด้วยยา - ยาขยายหลอดลม – ยากลมคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสุด - ยาปฏิชีวนะ 4. การผ่าตัด
นายอรรคเดช เพชรมีศรี UDA6380002