Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Stroke โรคหลอดเลือดสมอง - Coggle Diagram
Stroke โรคหลอดเลือดสมอง
Hemorrhagic Stroke ภาวะหลอดเลือดสมองแตก
พยาธิภาพ
สาเหตุสำคัญ
พบร่วมกับผนังของหลอดเลือดสมองขนาดเล็กอ่อนแอทำให้เกิดการฉีดขาดได้ง่าย
ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้
เมื่อเกิดการฉีกขาดของหลอดเลือดสมอง เลือดที่ออกมาจากการแตกของหลอดเลือดจะรวมตัวกันเป็นก้อนเลือด (hematoma) เข้าไปเบียดแทนที่เนื้อสมองบริเวณที่มีการแตก ของหลอดเลือดทำ ให้เนื้อสมองบริเวณนั้นถูกกด เกิดการอักเสบ หากถูกกดและอักเสบเป็นระยะเวลา3-6 ชั่วโมง
ทำให้เกิดภาวะเซลล์สมองขาดเลือดและเกิดเนื้อสมองตาย
ก้อนเลือดที่มีขนาดใหญ่
ทำ ให้มีภาวะสมองบวม
ส่งผลให้เกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูงถ้าอาการเลือดออกรุนแรงจะทำ ให้เกิดภาวะสมองยื่น (brain herniation) ได้
ถ้าการแตกของหลอดเลือดสมองไม่มากนัก ก้อนเลือดที่กดเนื้อสมองจะค่อย ๆซึมเข้าสู่หลอดเลือดสมองจดหมดภายในระยะเวลา 2-6 เดือน
ตำแหน่งของสมองที่เกิดภาวะเลือดออกได้บ่อยได้แก่ basal ganglia, thalamus, cerebellum และ pons
อาการและอาการเเสดง
1.อาการเพิ่มความดันในกะโหลกศีรษะ
เนื่องจากภาวะ hemorrhagic stroke
จะทำให้มีอาการเพิ่มปริมาตรภายในกะโหลกศีรษะ
ส่งผลให้ความดันในกะโหลกศีรษะสูงขึ้น
ความดันโลหิตสูง
ชีพจร ช้า หายใจไม่สม่ำเสมอได้
ผู้ป่วยมักจะมีอาการปวดศีรษะทันทีทันใด
สามารถตรวจพบความผิดปกติทางระบบประสาท
เฉพาะที่ได้(localizing sign)ได้
ตำแหน่ง
สมองfrontal lobeส่วนหน้า
temporal lobeส่วน
หน้า
intraventricularหรือกรณีsubarachnoid
hemorrhage
2.ความผิดปกติทางระบบประสาทเฉพาะที่ (localizing sign)
การตรวจพบความผิดปกติทางระบบประสาท
มักเกิดร่วมกับอาการเพิ่ม
ความดันในกะโหลกศีรษะ
แต่ในกรณีเลือดออกมีขนาดเล็กผู้ป่วยจะมีเพียงความผิดปกติทางระบบประสาทเฉพาะที่ก็ได้
3.ประดับผู็ป่วยเสียความรู้สึกเฉียบพลัน
เลือดออกในสมองน้อยกับต่อมทอนซิลหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท
ทั้งสองกรณีข้างต้นจะส่งผลต่อแกนสมองจะมีผลให้ผู้ป่วยมีระดับความรู้สึกตัวแย่ลงได้เช่นเดียวกัน
สติคือ
ฟังก์ชั่นการรับรู้
ความถึงสติปัญญา ความเฉลียวฉลาด ภาษา และการคิดคำนวณความเสียหายต่อระบบประสาทที่ควบคุมจะส่งผลต่อการประเมิน
การรักษาด้วยยา
ยารักษาการจับตัวเป็นลิ่มเลือดผิดปกติ
ซึ่งทำให้เกิดเลือดออกในกะโหลกศีรษะ ยาRecombinant factor 7 ใช้รักษาโรคฮีโมฟีเลียแก้ไขเลือดออกผิดปกติจากยาต้านการจับตัวเป็นลิ่มเลือดภาวะการจับตัวเป็นลิ่มเลือดผิดปกติจากการเสียเลือดมาก
ยาต้านการละลายลิ่มเลือด
ยาลดความดันโลหิต
รักษาโรคความดันโลหิตสูง
ผ่าตัด
การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะหนีบเส้นเลือดสมองโป่งพอง
การตัดต่อเส้นเลือดสมองเพื่อเพิ่มเลือดไปเลี้ยงสมองในกรณีที่มีการทำลาย(Sacrifice)เส้นเลือดในFusiform aneurysm หรือ Giant aneurysm
การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะเอาก้อนเลือดออก
การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะตัดเส้นเลือดผิดปกติออก
การผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ำหล่อโพรงสมองเมื่อเกิดภาวะน้ำคั่งในโพรงสมอง ผ่าตัดระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย(Ventriculostomy),ระบายลงช่องท้อง(VP.shunt)
การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะลดความดันในกะโหลกศีรษะ
Ischemic Stroke
ภาวะหลอดเลือดสมองตีบตัน
อาการเเละอาการแสดง
รู้สึกชาที่ใบหน้าหรือมีอาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อใบหน้าอย่างเฉียบพลัน อาจมีอาการปากเบี้ยว หลับตาไม่สนิท พูดไม่ชัดหรือมีปัญหาในการพูด
ปวดศีรษะอย่างรุนแรงและเฉียบพลัน โดยไม่ทราบสาเหตุ
แขนขาอ่อนแรง เป็นอัมพาตซีกใดซีกหนึ่งของร่างกายหรือทั้งสองซีกโดยขึ้นอยู่กับบริเวณที่หลอดเลือดแดงเกิดการอุดตัน
เสียการทรงตัวหรือมีปัญหาในการเดิน เดินเซหรือเดินลำบาก
มีปัญหาในการได้ยิน ความจำ การสื่อสารหรือการทำความเข้าใจ รวมถึงมีปัญหาด้านการมองเห็น
มึนงง วิงเวียนศีรษะหรือมีภาวะบ้านหมุน
การรักษาด้วยยา
ยาละลายลิ่มเลือด
ต้องใช้ภายใน 3ชม.หลังการอุดตัน
ยาต้านการจับตัวเป็นลิ่มเลือด(Anticoagulant)
ใช้ในกรณีมีโรคหัวใจ
ป้องกันการเกิดลิ่มเลือด
ยาต้านการเกาะกลุ่มของเกร็ดเลือด
พยาธิสภาพ
เกิดการตีบตันของหลอดเลือดขนาดใหญ่และหลอดเลือดขนาดเล็กในสมอง
มีความสัมพันธ์กับภาวะหลอดเลือด
แข็งตัว (atherosclerosis) และความดันโลหิตสูง (hypertension) เป็นเวลานาน
จะทำ ให้รูของหลอดเลือดแดงในสมองมีขนาดเล็กลง
จนเลือดไม่สามารถไหลเวียน
ไปเลี้ยงสมองได้อย่างเพียงพอ
การตีบตันหลอดเลือดสามารถเกิดขึ้นได้ทุกแห่งของหลอดเลือดสมองโดยจะพบมากที่บริเวณหลอดเลือดแดงส่วนกลาง (middle cerebral arteries)
เกิดจากการอุดตันของลิ่มเลือดที่ไหลเวียนอยู่ในกระแสเลือด
ต้นกำเนิดของลิ่มเลือดดังกล่าวมักเกิดจากหัวใจ
ภาวะหรือโรคหัวใจที่ทำ
ให้เกิดลิ่มเลือดในกระแสเลือด
ภาวะหัวใจเต้นพลิ้ว
โรคลิ้นหัวใจ
การใส่ลิ้นหัวใจเทียม และภายหลังการผ่าตัดหัวใจ
การอุดตันของหลอดเลือดสมองที่เกิดจากสิ่งอุดกั้นอื่น ๆ ที่ลอยในกระแสเลือด
ฟองอากาศ ชิ้นส่วนของไขมันที่เกิดภายหลังจากการได้รับบาดเจ็บหรือกระดูกหัก
ผ่าตัด
การตัดต่อเส้นเลือดสมองเพื่อเพิ่มเลือดไปเลี้ยงสมอง
ผ่าตัดรักษาโรคเส้นเลือดแดง Carotid ตีบหรืออุดตัน พื่อเอาก้อนเลือด,Plaque ในหลอดเลือด Carotid ออก ส้นเลือดอุดตัน 90%ของรูหลอดเลือด,หรืออุดตัน70%ร่วมกับมีอาการแสดงทางคลินิกของสมองขาดเลือด
การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะลดความดันในกะโหลกศีรษะ
การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะเอาลิ่มเลือดอุดตันในเส้นเลือดดำออก
อุบัติการณ์
อัตราการเกิดโรค 100-200 ต่อประชากร 1 แสนคน
เส้นเลือดอุดตัน(Ischemic stroke)พบมากกว่าเส้นเลือดแตก(Hemorrhagic stroke)
เส้นเลือดอุดตันพบในชายมากกว่าหญิง 30%
เส้นเลือดแตก พบในชายเท่ากับหญิง
สรุปการป้องกันและรักษา
การป้องกัน
ป้องกันการเกิดโรคในกลุ่มเสี่ยงผู้สูงอายุ
ประวัติครอบครัวโรคหลอดเลือดสมอง
มีปัจจัยเสี่ยงโดยป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยง
การออกกำลังกาย
ควบคุมน้ำหนักไม่ให้เกิดโรคอ้วน,
งดสูบบุหรี่
ตรวจร่างกายเป็นประจำอย่างน้อยปีละ 2ครั้ง
ป้องกันการ
กลับเป็นซ้ำ
งดอาหารที่มีไขมันสูง
รักษาด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดรักษาโรคหัวใจเต้นผิดปกติหรือโรคลิ้นหัวใจรั่
ว,
ยาต้านการเกาะกลุ่มของเกร็ดเลือด
ยาลดไขมันในเลือดรักษาโรคไขมันในเลือดสูงาลดระดับน้ำตาลในเลือดรักษาโรคเบาหวาน,ยาลดความดันโลหิตรักษาโรคความดันโลหิตสูง
การรักษาโดยผ่านภายในหลอดเลือด
การฉายรังสีรักษา
FAST STROKE
F - Face : ใบหน้า
อาการกล้ามเนื้อใบหน้าอ่อนแรง ผู้ป่วยจะมีอาการใบหน้าเบี้ยว ปากเบี้ยว น้ำลายไหลออกจากมุมปากข้างที่ตก
A Arm : แขน
อาการอ่อนแรงของแขน ขา ซีกใดซีกหนึ่งของร่างกาย
S Speak : การพูด
การพูดลำบาก พูดติดๆ ขัดๆ พูดไม่ชัด นึกคำพูดไม่ออก
T Time : เวลา
รู้เวลาที่เกิดอาการผิดปกติ คือรู้ว่าเริ่มมีอาการเป็นเวลาเท่าไหร่นับจากที่มีอาการผิดปกติ หรือนับจากเวลาที่ผู้ป่วยมีอาการปกติเป็นครั้งสุดท้าย และควรรีบมาโรงพยาบาลให้ทันภายใน 4.5 ชั่วโมง เนื่องจากในบางกรณีแพทย์อาจพิจารณาให้ยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำ ซึ่งช่วยเพิ่มโอกาสฟื้นตัวจากความพิการได้