Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มหน้าที่ของจิต และจิตวิเคราะห์ - Coggle Diagram
กลุ่มหน้าที่ของจิต และจิตวิเคราะห์
ฟรอยด์ เชื่อว่าพฤติกรรมของมนุษย์เกิดขึ้น เนื่องจากแรงขับ แรงจูงใจ หรือพลังงานภายใน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับจิตใต้สำนึก (Unconsciousness)
แนวคิดของกลุ่มจิตวิเคราะห์ 5 ประการ
ระดับของจิตใจ
โครงสร้างจิตใจ
สัญชาตญาณ
กลไกการป้องกันตัว
พัฒนาการความต้องการทางเพศ
ระดับของจิตใจ (Level of the mind)
1) จิตสำนึก (Conscious) คือ รู้ตัว มีเหตุผล
2) จิตกึ่งสำนึก (Subconscious) คือ สะสมไว้ในใจ ไม่รู้ตัว แต่พร้อมดึงมาใช้
3) จิตใต้สำนึก (Unconscious) คือ ไม่รู้ตัวเลย เก็บกด ก้าวร้าว
โครงสร้างจิตใจ (Structure of mind)
1.อิด (Id) เป็นส่วนติดตัวมาแต่กำเนิด ได้แก่ สัญชาตญาณ ความอยาก ตัณหา ความก้าวร้าว
2.อีโก้ (Ego) เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ควบคุมพฤติกรรมที่
แสดงออกของ Id ให้เหมาะสม ได้แก่ หลักแห่งความเป็นจริง / ตัวตนแห่งบุคคล
ซูเปอร์อโก้ (Superego) เป็นส่วนของคุณธรรมใน
แต่ละบุคคล จริยธรรม จรรยาบรรณ
สัญชาตญาณ (Instinct)
1) สัญชาตญาณแห่งการมีชีวิต (Life Instincts)
เป็นแรงขับทางเพศ (Sexual Drive) หรือความรัก(Eros)
2) สัญชาตญาณแห่งความตาย (Death Instincts)
เป็นแรงขับทางก้าวร้าว (Aggression) ความพินาศหรือความตาย (Thanatoc)
กลุ่มหน้าที่ทางจิต (Functionalism)
ซึ่งผู้นำของกลุ่มนี้คือ จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) และวิลเลียม เจมส์ (William James)
กลุ่มหน้าที่ทางจิตให้ความสำคัญกับ วิธีการที่มนุษย์ใช้ในการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
โดยมีความเชื่อว่า จิตเป็นตัวที่ก่อให้เกิดปัญญา จิตมีหน้าที่ควบคุมกระบวนการทุกอย่างภายในร่างกาย เพื่อปรับให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม