Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากการตั้งครรภ์ : : - Coggle…
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากการตั้งครรภ์
: :
Hyperemesis gravidarum
หมายถึง
ภาวะที่สตรีตั้งครรภ์มีอาการอาเจียนอย่างมาก ตลอดเวลาติดต่อกันเป็นเวลายาวนานกว่าปกติ โดยไม่สามารถควบคุมอาการคลื่นไส้ อาเจียนได้ จนขาดน้ำ อาจพบได้ หลัง 14-16 สัปดาห์ จนถึงตลอดการตั้งครรภ์
สาเหตุ
ระดับฮอร์โมนที่สร้างจากรก คือ HCG, Estrogen สูงขึ้นอย่างรวดเร็วทาให้มีอาการมาก
ผลของฮอร์โมน Progesterone กระเพาะอาหารเคลื่อนไหวช้าลง อาหารคั่งค้างอยู่นาน
ความไม่สมดุลของระดับฮอร์โมน HCG และ Estrogen มีปริมาณมากเกินไป
ภาวะจิตใจ เช่น ความวิตกกังวล กลัวการคลอด ไม่อยากตั้งครรภ์ความไม่มั่นใจ บทบาทการเป็นมารดา
ปัจจัยส่งเสริม
อายุน้อย ครรภ์แรก
ตั้งครรภ์แฝด ซึ่งรกมีขนาดใหญ่
ครรภ์ไข่ปลาอุก
เคยมีประวัติ N/V มากในครรภ์ก่อน
มีประวัติป่วยทางจิต/เครียด
พยาธิสภาพ
ดาเนินเช่นเดียวกับอาการอาเจียนทั่วไป เมื่อมีการกระตุ้น ที่ศูนย์ควบคุมการอาเจียน จะส่งกระแสประสาทความรู้สึกไปผลักดันสิ่งที่อยู่ในกระเพาะอาหาร และลาไส้ส่วนต้นออกมา
อาการ แบ่งเป็น 3 ระยะ
อาการไม่รุนแรง
:check: N/V น้อยกว่า 5 ครั้ง
:check: ส่วนใหญ่ไม่มีอาหารออกมา
:check: น้ำหนักตัวไม่ลดมาก
:check:ทำกิจวัตรประจาวันได้ตามปกติ
อาการรุนแรงปานกลาง
:check: N/V ติดต่อกัน 5 -10 ครั้ง / วัน
:check: มีอาการติดต่อกันภายใน 2- 4 wks
:check: น้ำหนักตัวลดมาก มีอาการขาดสารอาหาร
:check:อ่อนเพลีย ทากิจวัตรประจำวันได้น้อย
:check: มีภาวะเลือดเป็นกรด
อาการรุนแรงมาก
: :check: N/V มากกว่า 10 ครั้ง/วัน
:check: N/V ทันทีหลังกินข้าว ติดต่อกันเกิน 4 wks
:check: น้ำหนักตัวลดลงมาก ซูบผอม
:check: เกิดการขาดสารน้ำและอาหารอย่างรุนแรง
:check: ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้นอนตลอด
:check: ตาลึก มองภาพไม่ชัดเจน
:check: ปัสสาวะขุ่นและออกน้อย
:check: ตัวเหลือง ท้องผูก มีไข้ และ BP ต่ำ
การรักษา
ระยะที่มีอาการไม่รุนแรง แนะนำให้รับประทานอาหารที่ช่วยทดแทนเกลือแร่ที่สูญเสียไปกับการอาเจียน ได้แก่ น้ำตะไคร้ น้ำใบเตย น้ำผลไม้ น้ำกระเจี๊ยบ เป็นต้น หลีกเลี่ยงการใช้น้ำหอมที่หญิงตั้งครรภ์เหม็น อาหารที่มีโปแตสเซียม เช่น กล้วย แคนตาลูป สัปปะรด ฝรั่ง ส้ม แอปเปิ้ล
ระยะที่มีอาการรุนแรง ต้องรับการรักษาในโรงพยาบาล ให้ยาแก้อาเจียน ได้แก่ ยาลุ่ม Antihhistamines เช่น Dramamine 50-100 mg. ทุก 4 ชั่วโมง ยากลุ่ม Phenothiazines เช่น Compazine 5-10 mg. รับประทานวันละ 3ครั้ง ยากกลุ่ม Sedative หรือ tranquilizer เช่น Diazepam ก่อนนอน
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดเพื่อแก้ไขภาวะขาดน้า เกลือแร่ และวิตามิน โดยควรให้ 5% Dextrose, Ringer solution เนื่องจากหญิงตั้งครรภ์ที่มีคลื่นไส้ อาเจียนอย่างรุนแรงมักขาดโปแตสเซียม แมกนีเซียม แคลเซียม จึงควรเติมวิตามิน
ในรายที่มีการขาดสารอาหารอย่างรุนแรงควรได้รับ paranteral nutrition Theraphy โดยต้องได้ แคลอรี่มากกว่า 2,000 แคลอรี่ต่อวัน
Hypertension in Pregnancy
Preeclampsia
การเปลี่ยนแปลง
ความดันโลหิต systolic 140 มิลลิเมตรปรอทหรือมากกว่า หรือความดันโลหิต diastolic 90มิลลิเมตรปรอทหรือมากกว่า โดยวัด 2 ครั้งห่างกันอย่างน้อย 4 ชั่วโมง เมื่ออายุครรภ์เกิน 20สัปดาห์ขึ้นไป ในสตรีที่เคยมีความดันโลหิตปกติ
มีprotein 300 มิลลิกรัมหรือมากกว่าในปัสสาวะที่เก็บ 24 ชั่วโมง
Thrombocytopenia: เกล็ดเลือดต่ำกว่า 100,000/ลูกบาศก์มิลลิเมตร
Renal insufficiency: ค่า serum creatinine มากกว่า 1.1 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
มีการเพิ่มขึ้นของค่า liver transaminase เป็น 2 เท่าของค่าปกติ
Pulmonary edema
ปวดศีรษะ
Gestational hypertension
การเปลี่ยนแปลง
ความดันโลหิต systolic 140 มิลลิเมตรปรอทหรือมากกว่า หรือความดันโลหิต diastolic 90มิลลิเมตรปรอทหรือมากกว่า เมื่ออายุครรภ์เกิน 20 สัปดาห์ขึ้นไป ในสตรีที่เคยมีความดันโลหิตปกติ
ไม่มีproteinuria
ความดันโลหิตกลับสู่ค่าปกติภายใน 12 สัปดาห์หลังคลอด
การวินิจฉัยจะทำได้หลังคลอดแล้วเท่านั้น
HELLP syndrome
การเปลี่ยแปลง
Lactate dehydrogenase (LDH) ≥ 600 ยูนิต/ ลิตร
Aspartate aminotransferase (AST) และ alanine aminotransferase (ALT) เพิ่มขึ้นมากกว่า
2 เท่าของค่าปกติ
เกล็ดเลือดต่ำกว่า 100,000/ลูกบาศก์มิลลิเมตร
Eclampsia
การชักในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะครรภ์เป็นพิษ โดยการชักนั้นไม่ได้เกิดจากสาเหตุอื่น
Chronic hypertension
การเปลี่ยนแปลง
ความดันโลหิตสูงที่ตรวจพบก่อนการตั้งครรภ์หรือให้การวินิจฉัยก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
ความดันโลหิตสูงที่ให้การวินิจฉัยหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์และยังคงสูงอยู่หลังคลอดเกิน 12
สัปดาห์
การดูแลรักษา
กรณีที่เป็น preeclampsia หรือ gestational hypertension without severe features
ประเมินอาการของมารดาและทารกเป็นระยะ ๆ และนับลูกดิ้นทุกวัน
ไม่จำเป็นต้องให้ยาลดความดันโลหิต
วัดความดันโลหิต 2 ครั้งต่อสัปดาห์
ในกรณี gestational hypertension ให้ตรวจหา proteinuria ที่โรงพยาบาล สัปดาห์ละครั้ง
ในกรณี preeclampsia ไม่จำเป็นต้องตรวจติดตาม proteinuria ซ้ำอีก
ตรวจนับเกล็ดเลือด creatinine และ liver enzyme ทุกสัปดาห์
ไม่แนะนำการให้ magnesium sulfate (MgSO4) เพื่อป้องกัน eclampsia
ตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงติดตามการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ทุก 3-4 สัปดาห์ปริมาณน้ำคร่ำทุกสัปดาห์และตรวจประเมินสุขภาพทารกในครรภ์อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง
กรณีที่เป็น preeclampsia with severe features
ต้องรับไว้ในโรงพยาบาล
ให้ MgSO4 ป้องกันการชัก
แนะนำให้ยาลดความดันโลหิตในรายที่ความดันโลหิตยังคงสูง
พิจารณาให้คลอดโดยไม่คำนึงถึงอายุครรภ์หากมีข้อห้ามต่อการดูแลรักษาแบบ
กรณีที่เป็น HELLP syndrome
พิจารณาให้คลอด โดยไม่คำนึงถึงอายุครรภ์
ตรวจติดตาม LDH, platelet, liver enzyme อย่างน้อยทุก 12 ชั่วโมง จนกระทั่งคลอดและ
ระยะหลังคลอด
ให้ MgSO4 ป้องกันการชัก
กรณีที่เป็น Eclampsia
ให้ MgSO4เพื่อหยุดยั้งการชัก
พิจารณาให้คลอดในระยะเวลาไม่นานหลังจาก stabilize มารดา
กรณีที่เป็น Chronic hypertension
ในสตรีตั้งครรภ์ที่มีความดันโลหิตสูง ควรควบคุมความดันโลหิตให้ดี หยุดยาลดความดันที่มีผลต่อความพิการของทารกในครรภ์ และตรวจประเมินความรุนแรงของโรคก่อนการตั้งครรภ์หรือเมื่อทราบว่าตั้งครรภ์
ภาวะน้ำคร่ำผิดปกติ
Oligohydramnios
หมายถึง
ภาวะน้ำคร่ำน้อย คือ การที่มีปริมาณน้ำคร่ำน้อยกว่าปกติหรือน้อยกว่า SDP < 2 cms AFI < 5 cms
สาเหตุ
ด้านมารดา ได้แก่ prolonged PROM, PIH, DM, HT การใช้ยา indomethacin
และ GA 42 wks. (post term pregnancy) น้ำคร่ำจะลดลง 8% / wks
ด้านทารก ได้แก่ ความพิการของระบบทางเดินปัสสาวะ ความผิดปกติของโครโมโซม IUGR ทารกครรภ์แฝด
อาการและอาการแสดง
มดลูกเล็กกว่าอายุครภ์ คลำส่วนของทารกได้ชัดเจน
ทารกเคลื่อนไหวน้อยกว่าปกติ เนื่องจากถูกมดลูก บีบรัด
ภาวะแทรกซ้อน
การแท้ง
ทารกเกิดภาวะ amniotic band syndrome ทำให้เกิดความพิการ เช่น แขนขาคอดกิ่ว การผิดรูปร่างของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ เช่น clubfoot
Pulmonary hypoplasia (ปอดแฟบ)
การรักษา
ติดตามสุขภาพของทารกในครรภ์
การรักษาแบบประคับประคอง เช่น การให้สารน้ำ hypotonic solution
การเติมสารละลายน้ำเข้าไปในถุงน้ำคร่ำ (amnioinfusion) ใส่ไม่เกินครั้งละ 200 ml ช่วยลดภาวะ Variable deceleration ที่เกิดจากสายสะดือถูกกด
Polyhydramnios
หมายถึง
ภาวะที่มีนํ้ำคร่ำมากผิดปกติ จึงทำให้ท้องโต กว่าอายุครรภ์คล้ายกับตั้งครรภ์แฝด แต่เมื่อ U/S จะพบว่ามีเด็กเพียงคนเดียว
การวินิจฉัย
วัดแอ่งลึกที่สดุของนํ้ำคร่ำ (single deepest pocket, SDPปกติ 2-8 cms. ถ้า > 8 cms. ถือว่าเป็นpolyhydramnios
AFI ปกติ 5-25 cms.ถ้า > 25 cms. ถือว่าเป็น polyhydramnios
สาเหตุ
ทารกความพิการแต่กำเนิด เช่น หลอดอาหารอุดตัน
ทารกมีสารพันธุกรรมผิดปกติ
มารดาเป็นเบาหวาน นํ้ำตาลสูง
ความผิดปกติของรก
การขาดฮอร์โมนทำให้ทารกปัสสาวะมาก การอักเสบของถุงน้ำคร่ำ ทำให้รกสร้างน้ำคร่ำมากกว่าปกติ
การรักษา
อาการไม่มาก คือรุนแรงระดับน้อย หรือ ปานกลาง อาจไม่จำเป็นต้องให้การรรักษา
ติดตามความรุนแรงโดยทำ U/S ทุก 3-4 wks
ติดตามสุขภาพของทารกโดยทำ NST, BPP
เจาะน้ำคร่ำ (amniocentesis) รายทีมีอาการหายใจลำบาก แน่นอึดอัดมาก ดูดน้ำคร่ำออกประมาณ 1,500- 2,000 ml เพื่อบรรเทาความไม่สุขสบาย
ใหยายับยั้ง การคลอดกรณี PLP
Twins
หมายถึง
การตั้งครรภ์ที่เกิดจากการฝัง ตัวของไข่ที่ถูกผสมแล้วภายในโพรงมดลูกและมีผลให้เกิดทารกในครรภ์มากกว่า 1 คนขึ้นไป
สาเหตุ
ไข่ที่ถูกผสมแล้วแบ่งตัวผิดปกติ
มีไข่สุกพร้อมกัน 2 ใบ
ผู้มีบุตรยากได้ยากระตุ้นให้ตกไข่
การตรวจร่างกาย
ขนาดมดลูกโตกว่่าอายุครรภ์จาก LMP
(Size > Date) HF 5 cms. ขึ้นไป
คลำพบ Ballottement ของศีรษะได้มากกว่า 1 ตำแหน่ง คลำได้ small part สองด้าน
U/S แม่นยำที่ GA 26 wks
FHS ได้ 2 ตำแหน่งต่างกันชัดเจน 10 – 15 bpm
ยังคลำทารกได้ที่มดลูก หลังจากที่ทารกคนหนึ่งคลอดแล้ว
ภาวะแทรกซ้อนครรภ์แฝด
มักพบภาวะสายสะดือพันกัน (Cord entanglement) ความผิดปกติของอวัยวะตั้งแต่กำเนิด
Twin to Twin Transfusion Syndrome (TTTS)พบในครรภ์แฝด MCDA มีการถ่ายเทเลือดจากทารกคนหนึ่ง (Donor) ไปยังทารกแฝดอีกคน (Recipient)
ผ่านทางเส้นเลือด Artery ที่รกที่มีการเชื่อมต่อระบบไหลเวียนของทารกทั้งสองคน
Twin Anemia Polycythemia Sequence (TAPS) เป็น ภาวะการถ่ายเทเลือดระหว่างแฝด 2 คนเป็นระยะเวลานาน (Chronic fetofetal transfusion) โดยตรวจทารกระหว่างแฝด 2 คนเป็นระยะเวลานาน
Locked twins
การดูแล
ต้องเพิ่มพลังงาน 300 kgcl/d ธาตุเหล็ก 60-100 mg/d, Folic acid 1 mg/d
ป้องกัน PIH สังเกตอาการผิดปกติที่ต้องมา ร.พ.
NST ติดตามสุขภาพทารกในครรภ์
U/S : Dichorion Diamnion แนะนำให้ทุก 4-6 wks
ดูแลรักษาภาวะ PROM
หากเกิดส่วนนำของทารกขัดกัน (Locked twins) C/S ทุกราย