Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจ และการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจ
และการไหลเวียนโลหิต
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
(Cardiac arrhythmias: Sustained AF, VT, VF)
:<3:
แบ่งเป็น
Ventricular tachycardia (VT) :star:
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดท่ี ventricle เป็นจุดกําเนิด
การเต้นของหัวใจในอัตราที่เร็วมาก แต่สม่ำเสมอ 150-250 ครั้ง/นาที
ประเภทของ VT :star:
Nonsustained VT
VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า 30 วินาที
Sustained VT
VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลานานกว่า 30 วินาที ซึ่งมีผลทําให้ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง
Monomorphic VT
VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
Polymorphic VT
VT ที่ลักษณะของ QRS complex ไม่เป็นรูปแบบเดียว
สาเหตุ
มักจะพบในผู้ป่วยที่เป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายบริเวณกว้าง โรคหัวใจรูมาติก ถูกไฟฟ้าดูด ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ
อาการและอาการแสดง
ความดันโลหิตต่ำ
หน้ามืด เจ็บหน้าอก
ใจสั่น
หายใจลำบาก
หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
คลําชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว
ดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
เปิดหลอดเลือดดําเพื่อให้ยาและสารน้ํา
ทำการ CPR ถ้าผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น
หากมีอาการของการไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลงให้เตรียมการทำ synchronized cardioversion
Ventricular fibrillation (VF) :star:
เป็นภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ ventricle เป็นจุดกําเนิดการ เต้นของหัวใจตำแหน่งเดียวหรือหลายตำแหน่ง เต้นรัวไม่เป็นจังหวะ ไม่สม่ำเสมอ
ไม่มี P wave
ระบุไม่ได้ว่าส่วนไหนเป็น QRS complex
ไม่เห็นรูปร่างของ QRS complex
สาเหตุ :red_flag:
Hypovolemia, Hypoxia, Hydrogen ion (acidosis), Hypokalemia, Hyperkalemia, Hypothermia, Tension pneumothorax, Cardiac tamponade, Toxins, Pulmonary thrombosis, Coronary thrombosis
อาการและอาการแสดง
หมดสติ
ไม่มีชีพจร
รูม่านตาขยาย
:check: การพยาบาล
เตรียมเครื่งมือ อุปกรณ์และยาที่ใช้ในการช่วยฟื้นคืนชีพ
ทำการ CPR
การช็อกไฟฟ้าหัวใจ
การกดหน้าอก
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปริมาณเลือดออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลง เนื่องจากความผิดปกติของอัตราและจังหวะการเต้นของหัวใจ
Atrial fibrillation (AF) หรือ ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว :star:
เกิดจากจุดปล่อยกระแสไฟฟ้า ในห้องบนส่งกระแสไฟฟ้าออกมาถี่และไม่สม่ำเสมอและไม่ประสานกัน ส่งผลให้ห้องบนเกิดการบีบตัวแบบสั่นพริ้ว และคลื่นไฟฟ้าไม่สามารถส่งไปยังหัวใจห้องล่างได้
ประเภทของ AF
Permanent AF
AF ท่ีเป็นติดต่อกันนาน 1ปี โดยไม่เคยรักษาหรือเคยรักษาแต่ไม่หาย
Recurrent AF
AF ท่ีเกิดซ้ำมากกว่า 1คร้ัง
Persistent AF
AF ที่ไม่สามารถหายได้เองในระยะเวลา 7 วัน หรือหายได้ด้วยการรักษาด้วยยาหรือ การช็อคไฟฟ้า
Lone AF
AF ที่เป็นในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60 ปี ที่ไม่มีความผิดปกติของหัวใจโรคความดันโลหิตสูง
Paroxysmal AF
AF ท่ีหายได้เองในระยะเวลา 7 วัน โดยไม่ต้องใช้ยาหรือการช็อคไฟฟ้า (Electrical Cardioversion)
สาเหตุ
พบได้บ่อยในผู้ป่วยที่เป็น โรคหัวใจขาดเลือด โรคหัวใจรูมาติก ภาวะหัวใจล้มเหลว ความดันโลหิตสูง เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ (open heart surgery) และ hyperthyrodism
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย
เหนื่อยเวลาออกแรง
ใจสั่น
คลําชีพจรที่ข้อมือได้เบา
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ
digoxin
beta-blocker
calcium channel blockers
amiodarone
ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทํา Cardioversion
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ และตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG) อย่างต่อเนื่อง
เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง (RadiofrequencyAblation)
ภาวะช็อก (Shock) :explode:
เป็นภาวะที่เกิดความผิดปกติ ส่งผลให้ปริมาณออกซิเจนที่สูงไปเลี้ยงเนื้อเยื่อทั่ว ร่างกายลดต่ำลงกว่าความต้องการใช้ออกซิเจนของเนื้อเยื่อและอวัยวะ นําไปสู่ความผิดปกติของการทํางานของ อวัยวะต่าง ๆ จากการขาดออกซิเจนในระดับเซลล์ (Cellular dysoxia)
พยาธิสรีรวิทยาและพยาธิสภาพ/ปัจจัยด้านสรีรวิทยาของการไหลเวียนโลหิต
ความสามารถของการบีบตัวของหัวใจ
ปริมาณเลือดในหัวใจในช่วงคลายตัว
ความต้านทานของหลอดเลือดส่วนปลาย
อัตราการเต้นของหัวใจ
ความดันโลหิต
ระยะของช็อก
ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะท้าย (Decompensated shock)
ภาวะช็อกที่ได้รับการวินิจฉัยล้าช้าเซลล์ในร่างกายเริ่มตาย การทํางานของอวัยวะต่าง ๆ ลดลง
ภาวะช็อกที่ไม่สามารถชดเชยได้ (Irreversible shock)
ภาวะช็อกที่ได้รับการวินิจฉัยช้าเกินไป จนทําให้เซลล์หรืออวัยวะต่างๆในร่างกายได้รับความเสียหายเป็นอย่างมาก
ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะแรก (Compensated shock)
ได้รับการรักษาทั้งการให้สารน้ําและยาที่เหมาะสม ผลการรักษาจะดีและมีภาวะแทรกซ้อนเพียงเล็กน้อย
ประเภทของช็อก
ภาวะช็อกจากการขาดสารน้ํา (Hypovolemic shock)
เกิดจากการลดลงของปริมาณของเลือดหรือสารน้ําในร่างกาย การสูญเสียมากกว่า 30-40% ของปริมาตรเลือด
สาเหตุ
การสูญเสียเลือด
อุบัติเหตุ
การผ่าตัด
การสูญเสียน้ำ
ท้องเสีย
อาเจียน
ภาวะช็อกจากภาวะหัวใจล้มเหลว (Cardiogenic shock)
เป็นภาวะช็อกที่เกิดจากหัวใจ ไม่สามารถส่งจ่ายเลือดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย โดยที่มีปริมาตรเลือดในระบบไหลเวียนโลหิตอย่างเพียงพอ
สาเหตุ
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ
ความผิดปกติของล้ินหัวใจและผนังหัวใจ
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ภาวะช็อกจากหลอดเลือดมีการขยายตัว
ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ (Septic shock)
กลไกการเกิดจากการติดเชื้อ (pathogen) ซึ่งเชื้อโรคจะมีการหลั่งชีวพิษในตัว (endotoxin) ร่างกายจึงมีการตอบสนองโดยการหลั่งสาร cytokines
หายใจเร็วเบา
ปัสสาวะออกน้อย
ผิวหนังเย็นชื้น
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
ภาวะช็อกจากการแพ้ (Anaphylactic shock)
เกิดจากปฏิกิริยาของผู้ป่วยที่ได้รับสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกาย
ร่างกายมีอาการบวม
ร้อนแดง (flush)
ตัวแดง (flare)
ความดันโลหิตต่ำ
ผิวหนังเกิดผื่นแดง
ภาวะช็อกจากการทํางานผิดปกติของต่อมหมวกไต (Hypoadrenal / adrenocortical shock)
เป็นภาวะช็อกที่ร่างกายไม;สามารถผลิต cortisol ในปริมาณมากพอกับความต้องการในการประคับประคองความดันโลหิตในขณะที่ร่างกายเกิดความเครียด
ภาวะช็อกจากการอุดกั้นการไหลเวียนของเลือดเข้าสู่หัวใจ (Obstructiveshock)
เกิดจากการอุดกั้นการไหลเวียนของโลหิตไปสู่หัวใจห้องซ้ายจากสาเหตุภายนอกหัวใจ ส่งผลให้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจลดลง
ภาวะช็อกจากความผิดปกติของระบบประสาท (Neurogenicshock)
เป็นการผิดปกติของการไหลเวียนโลหิต จากความบกพร่องในการควบคุม ของระบบประสาทอัตโนมัติที่ควบคุมการขยายตัวและการหดตัวของหลอดเลือด (Vasomotor tone) เป็นผลให้มีการขยายตัวของหลอดเลือดดําและหลอดเลือดแดงขึ้นอย่างรวดเร็ว
อาการและอาการแสดง
ประสาทส่วนกลาง
กระสับกระส่าย ซึม หมดสติ เซลล์สมองตาย
ปัสสาวะออกน้อย
ความดันโลหิตต่ำ
เนื้อเยื่อต่าง ๆ ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
การพยาบาล
การแก้ไขสาเหตุที่ทําให้เกิดภาวะช็อก
การส่งเสริมการไหลเวียนโลหิตอย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ดูแลให้สารน้ําและอิเล็กโตรไลท์ทดแทนตามแผนการรักษา
ดูแลจัดท่านอนหงายราบ ยกปลายเท้าสูง 20-30 องศา
การป้องกันเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน
(Acute Heart Failure : AHF)
:<3:
หมายถึง การเกิดอาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างรวดเร็วจากการทำงานผิดปกติของหัวใจ
สาเหตุ
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต
หลอดเลือดปอดอุดตันเฉียบพลัน
ความผิดปกติเกี่ยวกับโรคหัวใจ
ตัวกระตุ้น
ความผิดปกตินอกระบบหัวใจและหลอดเลือด
ความผิดปกติทางหัวใจหลอดเลือด
อาการและอาการแสดง
Pulmonary edema
คือ ภาวะที่มีอาการและอาการแสดงของปอดบวมน้ํา โดยเห็นจากภาพถ่ายรังสีทรวงอก และมีค่า sat O2 ต่ำกว่าร้อยละ 90
Cardiogenic shock
คือ ภาวะที่ร่างกายมี poor tissue perfusion โดยมีความดันโลหิต systolic ต่ำกว่า 90 และมีปัสสาวะออกน้อยกว่า 0.5 ml/kg/hr.
Hypertensive acute heart failure
คือ กลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการภาวะหัวใจล้มเหลวที่มีปอดบวมน้ํา โดยมีความดันโลหิตสูงรุนแรงร่วมด้วย
High output failure
คือ ภาวะที่หัวใจล้มเหลว มีปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีสูงกว่าปกติ
ปลายมือปลายเท้าอุ่น
น้ำท่วมปอด
หัวใจเต้นเร็ว
Acute decompensated heart failure
คือ กลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการภาวะหัวใจล้มเหลวที่เกิดขึ้นแบบฉียบพลันแต่ไม่มีอาการรุนแรงมาก
Right heart failure
คือ ภาวะที่หัวใจด้านขวาทํางานล้มเหลว มีการเพิ่มขึ้นของความดันหลอดเลือดดําที่คอ มีการบวมของตับ และความดันโลหิตต่ำ
อาการและอาการแสดง
บวมตามแขนขา ความดันโลหิตไม่ปกติ(ต่ำ-สูง)
ท้องอืด แน่นท้อง ปัสสาวะออกน้อยหรือมากกว่าปกติ
หายใจเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้ อ่อนเพลีย
หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว
เส้นเลือดที่คอโป่ง
การรักษา
การลดการทํางานของหัวใจ
การให้ออกซิเจน
การใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ (Cardiac pacemaker)
การดึงน้ําและเกลือแร่ที่คั่งออกจากร่างกาย
การให้ยาขับปัสสาวะ
การจํากัดสารน้ําและเกลือโซเดียม
การเจาะระบายน้ํา
การใช้ยา
ยาเพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจ
ยารักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ยาขยายหลอดเลือดหัวใจ
ยาขยายหลอดเลือด
ยาท่ีใช้ในช็อค
การพยาบาล
ลดการทำงานของหัวใจ
ส่งเสริมการไหลเวียนเลือดไปยังเซลล์ใก้ได้รับออกซิเจนเพียงพอ
เพิ่มประสิทธิภาพการบับตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
ตัวอย่างข้อวินิจฉัย
ได้รับอาหารและพลังงานไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย เนื่องจาก รับประทานอาหารได้น้อยจากการหอบเหนื่อย
เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไปเลี้ยงไม่เพียงพอ เนื่องจากกล้ามเนื้อหัวใจหดรัดตัวไม่เต็มที่ /การเปลี่ยนแปลงของอัตราการเต้นและจังหวะของหัวใจ
เสี่ยง/ภาวะเน้ือเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจากปริมาณเลือดท่ีออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต
(Hypertensive crisis)
:explode:
สาเหตุ
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทำให้ความดันโลหิตสูง
ยาคุมกำเนิด
ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
อาการและอาการแสดง
กลุ่มอาการโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน
อาการทางสมอง hypertensive encephalopathy
ปวดศีรษะ
การมองเห็นผิดปกติ
สับสน
คลื่นไส้ อาเจียน
กล้ามเนื้อหัวใจตาย (Myocardial infarction)
เจ็บแน่นหน้าอกแบบเฉียบพลัน (Unstable angina)
น้ำท่วมปอด (Pulmonary edema)
ภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า (Aortic dissection)
เป็นภาวะความดันโลหิตสูงอย่าง เฉียบพลันสูงกว่า 180/120 มิลลิเมตรปรอท และทำให้เกิดการทำลายของอวัยวะเป้าหมาย
แบ่งตามความรุนแรง
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
เป็นความดันโลหิตที่วัดจากสถานพยาบาล โดยมีค่าความดันตั้งแต่ 140/90 มม.ปรอท
Cardiovascular disease (CVD)
เป็นโรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคของหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี่
โรคหัวใจล้มเหลว
Hypertensive urgency
เป็นภาวะความดันโลหิตสูงรุนแรงแต่ไม่มีอาการของอวัยวะในร่างกายถูกทำลาย หรือ Target organ damage (TOD)
Target organ damage (TOD)
เป็นภาวะความผิดปกติของอวัยวะในร่างกายจากความดันโลหิตสูง
หัวใจห้องล่างซ้ายโต
ภาวะโปรตีนขับออกมากับปัสสาวะ (microalbuminuria)
การแข็งตัวของหลอดเลือดแดง
Hypertensive emergency
เป็นภาวะความดันโลหิตสูงมากกว่า 180/120 มม.ปรอท ร่วมกับมีภาวะของ Target organ damage (TOD)
Stroke
Kidney failure
Acute MI
การซักประวัติ
ความสม่ำเสมอในการรับประทานยาและผลข้างเคียงของยาที่ใช้
การสูบบุหรี่
ซักประวัติโรคประจำตัว
ประวัติโรคความดันโลหิตสูงใสครอบครัว
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
อาการ
เหนื่อยง่าย แน่นอกเวลาออกแรง
ไตวายเฉียบพลัน
ปริมาณปัสสาวะลดลง
ไม่มีการขับถ่ายปัสสาวะ
เจ็บหน้าอก (chest pain)
การตรวจร่างกาย
ดัชนีมวลกาย
เส้นรอบเอว
น้ำหนัก ส่วนสูง
อาการความผิดปกติที่เกิดจาก Target organ damage
cotton-wool spots and hemorrhages
มีการแตกของ retina blood vessels
และ retina nerves ถูกทำลาย
เจ็บหน้าอก (Chest pain)
อาการ
acute coronary syndrome
aortic dissection
Papilledema
ต้องประเมินภาวะ increased intracranial pressure เพื่อตรวจ retina
ปัสสาวะออกน้อย (oliguria or azotemia)
ภาวะไตถูกทำลาย
โรคหลอดเลือดสมอง
อาการ
มองเห็นไม่ชัด
ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ
แขนขาชาหรืออ่อนแรงครึ่งซีก
ภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า (Aortic dissection)
คลำชีพจรที่แขนและขาทั้ง 2 ข้าง และวัดความดันโลหิตที่แขนทั้ง 2 ข้าง ค่าทั้งสองจะแตกต่างกัน เรียกว่า pseudohypotension
วัดสัญญาณชีพ
โดยเฉพาะความดันโลหิตต้องวัดเปรียบเทียบกันทั้งแขนซ้ายและแขนขวา
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ประเมินภาวะ microangiopathic hemolytic anemia (MAHA)
ตรวจการทำงานของไต
ตรวจ CBC
chest X-ray
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การรักษา :
ให้ยาลดความดันโลหิตชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
เพื่อลดความดันโลหิตให้อยู่ในระดับปกติ
ป้องกันการถูกทำลายของอวัยวะในร่างกาย
กลุ่มยา :check:
sodium nitroprusside
nicardipine
nitroglycerin
labetalol
ยา sodium nitroprusside :forbidden: ห้ามใช้ในผู้ป่วยตับและไต
ต้องให้การรักษาใน Intensive Care Unit : ICU
:warning: ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
วิตกกังวล
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลายไม่เพียงพอ
พร่องความรู้
การพยาบาล
ในระยะเฉียบพลัน เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของระบบต่าง ๆ
Neurologic
สับสน(confusion)
มึนงง (stupor)
อาการชัก (seizures)
หมดสติ(coma)
โรคหลอดเลือดสมอง (strok)
cardiac symptoms
aortic dissection
myocardial ischemia
dysrhythmias
Acute kidney failure
ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตามความดัน โลหิตอย่างใกล้ชิด
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจกรรม
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจกรรม