Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บท3.2 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต ในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต, นางสาว ณัฐนรี…
บท3.2 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต
ในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
Hypertensive crisis
สาเหตุ
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
หยุดยาลดความดันโลหิตทันที
ใช้ยาที่มีผลทำให้ BP สูง
ยาคุมกำเนิด
ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
อาการและอาการแสดง
Myocardial infarction
Unstable angina
Acute cardiovascular syndromes
Pulmonary edema
hypertensive encephalopathy
ปวดศีรษะ มองเห็นผิดปกติ สับสน คลื่นไส้ อาเจียน
Aortic dissection
การซักประวัติ
ผลข้างเคียงของยา
Target organ damage: TOD
สม่ำเสมอในการทานยา
ประวัติโรคในครอบครัว
โรคประจำตัว
ตรวจร่างกาย
v/s
โดยเฉพาะBPเทียบแขนซ้ายและขวา
น้ำหนัก ส่วนสูง ดัชนีมวลกาย
หาความผิดปกติเกิดจาก TOD
พบ Papilledema
ตรวจratina
มองเห็นไมชัด/ตามั่วชั่วขนาด
ตรวจจอประสาทตา
ตรวจห้องปฏิบัติการ/ตรวจพิเศษ
Cr , eGFR , Albumin
ตรวจการทำงานของไต
EKG, chest x-ray
ประเมินหัวใจและหลอดเลือด
CBC
ประเมิน MAHA
CT,MRI
รายมีความผิดปกติทางสมอง
การรักษา
ยาลดความดันโลหิตชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
Ex. sodium nitroprusside
การพยาบาล
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents
sodium nitroprusside
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจกรรม
ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยา
ผู้ป่วยสมองขาดเลือด+ความดันโลหิตสูงวิกฤต
ใน24hr แรก BP ให้ต่ำกว่า 180/105mmHg
ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
SBP ไม่ต่ำกว่า120mmHg, DBP 70-79 mmHg
ให้ความรู้/ข้อมูลแก่ผู้ป่วยวัตถุประสงค์ ติดอุปกรณ์ การปรับการดำเนินชีวิต
ในระยะเฉียบพลันเฝ้าติดตามอาการ/อาการแสดงอย่างใกล้ชิด
Cardiac symptoms
aortic dissection, myocardial
Acute kidney failure
BUN Cr จะมีค่าขึ้นสูง
Neurologic symptoms
confusion, stupor, seizures, coma, stroke.
Acute Heart Failure: AHF
อาการ/อาการแสดง
Pulmonary edema
Cardiogenic shock
Hypertensive acute heart failure
High output failure
Acute decompensated heart failure
Right heart failure
อาการ/อาการแสดงที่พบบ่อย
หายใจเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้ อ่อนเพลีย บวมตามแขนขา BPต่ำ/สูง ท้องอืดโต ปัสสาวะออกน้อย/มาก หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว เส้นเลือดดำที่คอโป่งพอง
เสียงปอดผิดปกติเนื่องจากเลือดคั่ง การหดตัวของหลอดลม
สาเหตุ
ภาวะหัวใจวาย
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน
กลไกการไหลเวียนเลือดผิดปกติ
โรคหัวใจใดๆที่ทรุดตามการดำเนินโรค
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
หลอดเลือดปอดอุดตันเฉียบพลัน
การพยาบาล
เป้าหมายสำคัญ
ส่งเสริมการไหลเวียนเลือด
ความสมดุลของน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย
ลดการทำงานของหัวใจ
ความผิดปกติด้านจิตใจ
พยาธิสภาพ
เกิดจาก
กาคั่งของน้ำ/เกลือแร่ ความผิดปกติของการไหลเวียนเลือด,ระบบประสาทและฮอร์โมน
ทำให้มีเลือดมากในหัวใจ
หัวใจทำงานหนัก
ปรับตัวของหัวใจเกิดผังผืด เซลล์ตาย กล้ามเนื้อหัวใจหนา
หัวใจทำงานลดลง
ปรับสมดุลโดยกระตุ้น baroreceptor reflex
1 more item...
การรักษา
การดึงน้ำและเกลือแร่ที่คั่งออกจากร่างกาย ได้แก่ให้ยาขับปัสสาวะ จำกัดสารน้ำ
การใช้ยา
ยาขยายหลอดเลือด เช่น sodium nitroprusside (NTP)
ยาที่ใช้ในช็อค เช่น adrenaline, dopamine
ยาขยายหลอดเลือดหัวใจ เช่น nitroglycerine / isodril (NTG)
ยาบรรเทาอาการเจ็บหน้าอก เช่น morphine
ยาละลายลิ่มเลือด เช่น coumadin
ยารักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ เช่น amiodarone
ยาเพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจ เช่น digitalis (digoxin)
ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด เช่น aspirin, plavix, clopidogrel
ลดการทำงานของหัวใจ
การให้ออกซิเจน
Cardiac pacemaker
Intra-aortic balloon pump
(Percutaneous coronary intervention
การรักษาสาเหตุ ได้แก่ การขยายหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี, การเปลี่ยนลิ้นหัวใจในโคโรนารี
ประเมินสภาพ
ตรวจห้องปฏิบัติการ
biochemical cardiac markers
ABG
CBC
ตรวจพิเศษ
echocardiogram
CT
CXR
coronary artery angiography (CAG)
ซักประวัติ/ตรวจร่างกาย
ความหมาย
เกิดอาการอาการแสดงHFรวดเร็ว
จากการทำงานผิดปกติของ
การเต้นผิดจังหวะ
อาจเกิดกับ
decompensated
de novo heart failure
การเสียสมดุลของpreload , afterload
การบีบ/คลายตัวของหัวใจ
Shock
ประเภทของช็อก
Distributive shock
Anaphylactic shock
Hypoadrenal / adrenocortical shock
Septic shock
Obstructive shock
Cardiogenic shock
Neurogenic shock
Hypovolemic shock
อาการ/อาการแสดง
ไตและการขับปัสสาวะ
ปัสสาวะออกน้อย
ทางเดินอาหาร
ดีซ่าน ตับอ่อนอักเสบ ตับวาย กระเพาะ/ลำไส้ขาดเลือด
หายใจ
หายใจเร็วลึก ระดับออกซิเจนในเลือดต่ำ
เลือดและภูมิคุ้มกัน
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ ภาวะลิ่มเลือดกระจายทั่วร่างกาย
หัวใจและหลอดเลือด
ชีพจรเบาเร็ว ผิวหนังเย็นซีด หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ต่อมไร้ท่อ
น้ำตาลในเลือดสูง/ต่ำ ภาวะร่างกายเป็นกรด
ประสาทส่วนกลาง
กระสับกระส่าย ซึม หมดสติ
ระยะของช็อก
Decompensated shock
ได้รับการวินิจฉัยล่าช้า เซลล์เริ่มตาย ทำงานอวัยวะต่างๆลดลงก่อนได้รับการรักษา
Irreversible shock
ได้รับการวินิจฉัยช้าเกินไปทำให้เซลล์/อวัยวะได้รับความเสียหายมาก รักษาระยะนี้มักจะไม่ได้ผล
Compensated shock
ได้รับการวินิจฉัยตั้งแต่เริ่มต้น ผลรักษาจะดี
การรักษา
แก้ไขระบบไหลเวียนโลหิตให้ได้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีเพียงพอ
ให้สารน้ำ+ให้ยาที่มีผลต่อการบีบตัวของหัวใจ
รักษาที่เฉพาะเจาะจงตามสาเหตุขอองภาวะช็อก
แก้ไขความผิดปกติของภาวะกรดด่าง
แก้ไขภาวะพร่องออกซิเจนของเนื้อเยื่อ/การลดการใช้ออกซิเจน
พยาธิสรีรวิทยาและพยาธิสภาพ
เกิดจากความไม่สมดุลของออกซิเจนที่ไปยังเนื้อเยื่อ
เซลล์มีการดึงออกซิเจนมาใช้ลดลง
ไมโตรคอนเดียทำงานผิดปกติ
เซลล์จึงอาสัยขบวนการเผาผลาญแบบไม่ใช้ออกซิเจน
เกิดการสะสมของเสียในเลือดมาก
ร่างกายเป็นกรด/เกิดการหลั่งสารเคมี
อวัยวะขาดออดซิเจนและสูญเสียหน้าที่,อวัยวะล้มเหลวนำไปสู่เสียชีวิต
การประเมินสภาพ
การตรววจห้องปฏิบัติการ :CBC, BUN, Cr, electrolyte, lactic acid, arterial blood gas,
coagulation, specimens culture
การตรวจพิเศษ: x-ray, CT, echocardiogram, ultrasound
การตรวจร่างกาย:ประเมินทางเดินหายใจ อัตราการหายใจ การไหลเวียนโลหิตและทำงานหัวใจและความรู้สึกตัว
การซักประวัติ:โรคหัวใจ การสูญเสียสารน้ำ การติดเชื้อ การได้รับบาดเจ็บ อุบัติเหตุ และอื่นๆ
ความหมาย
ภาวะที่ร่างกายเกิดความผิดปกติทำให้เกิดการไหลเวียนเลือดไปยังอวัยวะต่างๆไม่เพียงพอทำให้o2ไม่ไปเลี้ยงเนื้อเยื่อไม่เพียงพอ
การพยาบาล
ส่งเสริมการไหลลเวียนโลหิตอย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ประเมินV/S รวมถึงค่าMAPทุก1ชั่วโมง
ติดตามค่า CVP
จัดท่านอนหงายราบ ยกปลายเท้าสูง20-30องศา
บันทึกสารน้ำเข้าออกจากร่างกายและติดตามปนิมาณปัสสาวะทุก1-2ชั่วโมง
ดูแลให้ยาเพื่อส่งเสริมไหลเวียนโลหิตตามแผนการรักษา
ติดตามการเปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัว ลักษณะผิวหนังเย็น ซีด
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอิเล็กโตรไลท์ตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับการช่วยเหลือโดยใช้อุปกรณ์พิเศษต่างๆ
การแก้ไขสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะช็อก
เตรียมผู้ป่วยเพื่อให้ได้รับการทำ PTCA, CABG
ดูแลให้ยาละลายลิ่มเลือดตามแผนการรักษาแก้ไขภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย
ดูแลให้ได้รับยาChlorpheniramine 1 amp Vเพื่อแก้ไขภาวะแพ้
ดูแลเตรียมให้ได้รับการตรวจเพื่อหาสาเหตุ
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา+รับการผ่าตัดเพื่อแก้ไขสาเหตุการติดเชื้อ
ป้องกันเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง โดยดูดเสมะ จัดท่าศีรษะสูง
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ประเมินภาวะขาดออกซิเจน ติดตามV/Sทุก 1ชั่วโมง ระดับความรู้สึกตัว อาการเขียว
ส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยและครอบครัวได้ระบายความรู้สึก วิตกกังวล และซักถามข้อข้องใจการเจ็บป่วย
Cardiac dysrhythmias
Ventricular tachycardia (VT)
สาเหตุ
ถูกไฟฟ้าดูด
โพแทสเซียมในเลือดต่ำ
หัวใจรูห์มาติก
พิษจากยาดิจิทัลลิส
กล้ามเนื้อหัวใจตามบริเวณกว้าง
กล้ามเนื้อหัวใจถูกกระตุ้นจากการตรวจสวนหัวใจ
อาการ/อาการแสดง
เกิดทันที
ใจสั่น BPต่ำ หน้าามืด เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก หัวใจหยุดเต้น
ประเภท
Sustained VT
ต่อเนื่องกันนานกว่า 30 วินาทีทำให้ระบบไหลเวียนเลือดลดลง
Monomorphic VT
QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
Nonsustained VT
ต่อเนื่องกันน้อยกว่า 30 วินาที
Polymorphic VT
QRS complex ไม่เป็นรูปแบบเดียว
การพยาบาล
ดูแลให้ได้ยาและแก้ไขภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
คลำชีพจรได้+อาการของการไหลเวียนเลือดลดลงให้เตรียมทำ synchronized cardioversion
ประเมินV/S ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว
คลำชีพจรไม่ได้เตรียมเครื่อง Defibrillator
นำเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันที
CPR เมื่อหัวใจหยุดเต้น
Ventricular fibrillation (VF)
อาการ/อาการแสดง
เกิดทันที
หมดสติ ไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย
การพยาบาล
ทำ CPR ทันที
สิ่งที่สำคัญคือ การช็อกไฟฟ้าหัวใจทันที/การกดหน้าอก
เตรียมอุปกรณ์ ยาที่ช่วยฟื้นคืนชีพ
สาเหตุ
Hypothermia
Tension pneumothorax
Hyperkalemia
Tension pneumothorax
Hypokalemia
Hydrogen ion (acidosis)
Toxins
Hypoxia
Pulmonary thrombosis
Coronary thrombosis
Hypovolemia
Atrial fibrillation (AF)
สาเหตุ
หัวใจล้มเหลว
ความดันโลหิตสูง
หัวใจรูห์มาติก
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
หัวใจขาดเลือด
หลังผ่าตัดหัวใจ
อาการ/อาการแสดง
อ่อนเพลีย
เหนื่อยเวลาออกแรง
คลำชีพจรที่ข้อมือได้เบา
ใจสั่น
ประเภท
Permanent AF
เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปีโดยไม่เคยรักษา/เคยรักษาแต่ไม่หาย
Recurrent AF
เกิดซ้ำมากกว่า1ครั้ง
Persistent AF
หายไม่ได้เองภายใน 7 วันโดยต้องใช้ยาหรือการช็อคไฟฟ้า
Lone AF
อายุน้อยกว่า 60 ปีที่ไม่มีความผิดปกติของหัวใจ/โรคความดันโลหิตสูง
Paroxysmal AF
หายได้เองภายใน 7 วันโดยไม่ต้องใช้ยาหรือการช็อคไฟฟ้า
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ
ดูแลให้ยาได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดในผู้ที่มีข้อบ่งชี้ลิ่มเลือดเกิดขึ้น
สังเกตอาการ/อาการแสดงของลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขน ขา
เตรียมผู้ป่วย/อุปกรณ์ในการทำcardioversion
ประเมินสัญญาณชีพ/คลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยเคลื่อนไฟฟ้าความถี่สูง
นางสาว ณัฐนรี คำใหญ่ 6201210361 เลขที่ 20 SecA