Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Gram Positive Bacteria - Coggle Diagram
Gram Positive Bacteria
Clostridium
C. tetani
การก่อโรค
โรคบาดทะยัก (Tetanus)
- เกิดจากบาดแผลขนาดเล็ก หรือรอยถลอก ที่ปนเปื้อนสปอร์
ของเชื้อ C. tetani จากดิน หรือจากการสัมผัสสิ่งสกปรก
- toxin เข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
- เชื้อแบ่งตัวได้ดีในสภาพเนื้อตาย แผลลึก และแผลที่มีดินติด
- ทางเข้าของเชื้อ คือ บาดแผลฉีกขาด การติดเชื้อหลังคลอด และการตัดสายสะดือทารก
อาการและอาการแสดง
- อาการขากรรไกรแข็ง : เนื่องจากการหดตัวของของกล้ามเนื้อเกี่ยวกับการเคี้ยว
- อาการชักกระตุก : เนื่องจากได้รับการกระตุ้นจากสิ่งแวดล้อมภายนอก เช่น แสง เสียง การสัมผัส
- อาการหลังแข็งแล้วแอ่นไปข้างหน้า : เวลานอนจะมีส่วนศีรษะและแขนที่แตะที่นอน ขาทั้งสองข้าง
เหยียดตรง
C. perfringens
การก่อโรค
- Clostridial Food Poisoning
- อาการและอาการแสดง >> ปวดท้องรุนแรง คลื่นไส้ และท้องร่วง (ไม่มีไข้ และไม่อาเจียน)
- เกิดขึ้นหลังจากกินอาหาร 8-24 ชม.
- โรคก๊ซแกงกรีน หรือโรคเนื้อตายเน่า (Gas Gangrene/Myonecrosis)
- สาเหตุ >> บาดแผลจากอุบัติเหตุ >> บาดแผลอยู่ในสภาพไร้อากาศ >> เชื้อเจริญได้ดี
- อาการและอาการแสดง
-บริเวณรอบแผลบวมน้ำ มีตุ่ม มีของเหลวไหลซึมออกมา
-แผลบริเวณกล้ามเนื้อบวมเป็นสีม่วงคล้ำ มีก๊ช และของเหลวสะสม
-แผลถูกล้อมรอบด้วยพังผืด เกิดความดันเพิ่มขึ้น ขาดเลือด และกล้ามเนื้อตาย
C.botulinum
การก่อโรค
- Foodborne Botulism
- สาเหตุ
-รับประทานอาหารที่ผ่านขบวนการถนอมอาหาร
ที่มีการบรรจุไม่ได้มาตรฐาน เช่น อาหารกระบีอง ผัก/ผลไม้กระป๋อง
-botulinum toxin
- อาการและอาการแสดง >> ระยะฟิกตัว 12-36 ชั่วโมง >> อ่อนเพลีย ปวดท้อง เวียนศีรษะ กระหายน้ำ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก
- อาการทางประสาท : นัยน์ตาพร่า เห็นภาพร้อน กล้ามเนื้ออ่อนแรง กลืนอาหารลำบาก พูดลำบาก หายใจลำบาก อาจเสียชีวิตภายใน 1 วัน
-
- Infantile Botulism
- พบในทารกอายุ 6 สัปดาห์ - 6 เดือน อาการเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน
- อาการ >> ท้องผูก เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ดูดกลืนลำบาก ร้องไห้
เสียงเบา และคออ่อนพับ
Streptococcus
S. pneumoniae
การก่อโรค
โรคปอดบวม (Pneumonia) / ปอดอักเสบ (Pneumonitis)
-ไซนัสอักเสบ หูชั้นกลางอักเสบ หลอดลมอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ เยื่อบุหัวใจอักเสบ ข้ออักเสบ
-ภาวะที่ร่างกายมีภูมิคุ้มกันต่ำลง >> ภาวะภูมิแพ้ Alcoholism การระคายเคืองทางเดินหายใจ ความเป็นพิษของยากดการทำงานของ phagocyte
อาการและอาการแสดง
-มีไข้ ไอ เจ็บหน้าอกรุนแรง มีเสมหะเป็นสีสนิมหรือสีน้ำตาล และมีเลือดปน
-เหงื่อออกมาก ชีพจรเต้นเร็ว หายใจลำบาก
-มีหนองในช่องปอด
-Bacteremia
-มีการติดเชื้อไปสู่ส่วนอื่น : โพรงจมูก หูส่วนกลาง เยื่อหุ้มสมอง
S. agalactiae
การก่อโรค
- พบเชื้อบริเวณ Pharynx ทางเดินอาหาร ช่องคลอด
- 15-20% ของหญิงตั้งครรภ์อาจเป็นพาหะของเชื้อนี้ และอาจถ่ายทอดไปยังเด็กแรกเกิด
อาการและอาการแสดง
Bacteremia >> ภาวะโลหิตเป็นพิษในทารกแรกเกิด
- ปอดบวม เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ไขสันหลังอักเสบ
- ติดเชื้อที่ผิวหนัง เยื่อบุหัวใจอักเสบ หูอักเสบ ข้ออักเสบ
S. mutans
การก่อโรค
โรคฟันผุ (decayed teeth)
- พบเชื้อใน nasopharynx ในปาก รอยแยกของช่องเหงือก
S. suis
การก่อโรค
- เป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน >> ถ่ายทอดสูคนโดยการสัมผัสโดยตรง และ การกินอาหารสุกๆดิบๆ
- ระยะฟักตัว 2-3 วัน
- Sepsis / Streptococcal Toxic Shock Syndrome (STSS)
อาการและอาการแสดง
- เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ข้ออักเสบ ม่านตาอักเสบ
- มีไข้ หนาวสั่น หอบเหนื่อย คลื่นไส้ ปวดศีรษะ สูญเสียการได้ยิน >> หูหนวก (ไข้หูดับ)
- Bacteremia >> อาจมีอาการรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต
S. pyogenes
- โรคไฟลามทุ่ง (Erysipelas)
- เกิดการติดเชื้อที่ผิวหนังอย่างรุนแรง
- อาการและอาการแสดง>> เกิดรอยแผลตามใบหน้าและขา ผิวหนังจะเป็นสีแดงคล้ำ บวมน้ำ และเป็นตุ่ม
- โรคคออักเสบเฉียบพลัน (Acute pharyngitis)
- อาการและอาการแสดง
-เจ็บคอ (อาการเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน)
-กลืนน้ำลายแล้วรู้สึกเจ็บคอ มีไข้
-คอหอย และต่อมทอนซิลแดง มีหนองที่ต่อมทอนชิล ลิ้นไก่บวมแดง
-ต่อมน้ำเหลืองข้างคอโต และกดเจ็บ
-ในเด็กมักพบอาการปวดศีรษะ และอาการในระบบทางเดินอาหาร (เช่น ปวดท้อง และอาเจียน)
Listeria monocytogenes
การก่อโรค
Listeriosis
- พบในทารกแรกเกิด หญิงตั้งครรภ์ ผู้สูงอายุ และคนไข้ภูมิคุ้มกันต่ำ
- ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจ โลหิตเป็นพิษ และสมองอักเสบ สาเหตุ
- สัมผัสสัตว์และอุจจาระของสัตว์ กินผักสดที่รดด้วยปุ้ยคอก การดื่มนม
และเนยที่ไม่ผ่านการ pasteurization (62.8 *C เป็นเวลา 30 นาที)
-
Staphylococcus
S. aureus
การก่อโรค
- การติดเชื้อที่ผิวหนัง ฝิและฝีลิกบัว (furuncles and carbuncles) : ผิวหนังชั้นนอกอักเสบ
ทำให้เกิดหนอง / ฝึฝึกบัวมักเกิดที่คอหรือหลังส่วนบน โดยจะมี ปริมาณมากกว่าสีธรรมดา และแพร่กระจายไปลึกกว่า โรคผิวหนังเป็นตุ่มพุพอง (Impetigo)
โรคผิวหนังหลุดลอก (scalded skin syndrome) Staphylococcal scalded skin syndrome (SSSS)
** Ritter' disease
- ไขกระดูกอักเสบ (osteomyelitis) : ในเด็กชายอายุต่ำกว่า 12 ปี
- โพรงข้อต่อมีหนอง (pyoarthrosis) : หลังจากการทำศัลยกรรมกระดูก >> เกิดการติดเชื้อ
- อาหารเป็นพิษ (Food poisoning) : การกินอาหารที่ปนเปื้อน enterotoxin ของเชื้อ
- ลำไส้อักเสบ (enterocolifis) : คนไข้ในโรงพยาบาลที่ normal lora ในลำไส้ ถูกยับยั้ง
การเจริญด้วย antibiotic ที่ออกฤทธิ์กว้าง (broad spectrum antibiotice)
- ช็อก (Toxic Shock Syndrome, TSS) : ในผู้หญิงที่ใช้ผ้าอนามัยแบบสอด
-
Bacillus cereus
การก่อโรค
- เชื้อสร้าง Enterotoxin >> Food Poisoning
- heat stable enterotoxin : มีอาการอาเจียน
- heat labile enterotoxin : ท้องร่วง
- ตาอักเสบ (Panophthalmitis)
- แหล่งของเชื้ออยู่ในสิ่งของที่ปนเปื้อนกับดิน 3> แพร่เข้าตา
- เชื้อลุกลามอย่างรวดเร็ว >> ทำลายเนื้อเยื่อเรตินา >> สูญเสียการมองเห็นภายใน 48 ชม.
Spirochetes
-
Treponema pallidum
การก่อโรค
โรคซิฟิลิส (Syphilis)
- ระยะฟิกตัว : ประมาณ 10-90 วัน (เฉลี่ย ~ 3 สัปดาห์)
- การเกิดโรค แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
- ชิฟิลิสที่เกิดขึ้นภายหลัง (Acquired syphilis) : ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ >> เชื้อเข้าสู่ร่างกาย
ทางผิวหนังที่มีแผล รอยถลอก หรือเยื่อเมือกของอวัยวะสืบพันธุ์
- ชิพีลิสแต่กำเนิด (Congenital syphilis) : มารดาติดเชื้อจิฟิลิสขณะตั้งครรภ์
(เซื้ออยู่ในกระแสเลือด >> ผ่านรก >> ทารกในครรภ์)
- ระยะที่ 1 (primary syphilis) : เกิดขึ้นหลังจากได้รับเชื้อ 2-10 สัปดาห์ >> ตุ่ม >> อวัยวะสืบพันธุ์ ลิ้น ริมฝีปาก ต่อมทอนชิล หัวนม หนังตา นิ้วมือ
รอบทวารหนัก เยื่อเมือก
-ระยะ hard chancre (แผลริมแข็ง)
-ตรวจเลือดยังไม่ให้ผล + จนกว่าจะเกิดรอยแผลแล้วอย่างน้อย 1 สัปดาห์
-เชื้อติดต่อสู่ผู้อื่นได้
- ระยะที่ 2 (secondary syphilie) : เกิดหลังเป็นแผลริมแข็ง 1-2 เดือน
-ต่อมน้ำเหลืองบวม
-มีอาการแสดงออกทางผิวหนัง คือ เม็ดตุ่ม หรือผื่นแดงตามร่างกาย
เป็นผื่นเรียบ ขนาดเล็ก หรือนูนเป็นตุ่มแข็ง >> อาจกลายเป็นตุ่มหนองที่แตก ออกเป็นแผลทั่วร่างกาย -ระยะออกดอก (แพร่เชื้อมากที่สุด)
-ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เป็นไข้ เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
- ระยะที่ 3 (tertiary/late syphilis) : ระยะไม่ติดต่อ
-เป็นระยะทำลายของโรค (5-20 ปี)
-เกิด gบmma ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น ผิวหนัง กระดูก ตับ ลิ้น เพดานปาก กระดูกใบหน้า >> เชื้อทำลายสมอง>>ความจำเสื่อม
-ตาบอด หูหนวก เส้นเลือดแดงใหญ่โป่งพอง ลิ้นหัวใจเสื่อม
Mycobacterium
M. leprae
การก่อโรค
โรคเรื้อน (Leprosy หรือ Hansen's disease, HD)
อาการและอาการแสดง
- อาการทางผิวหนัง เส้นประสาทส่วนปลาย เยื่อบุทางเดินหายใจส่วนบน
- อาการทางระบบประสาท
1) เส้นประสาทรับความรู้สึกจะถูกทำลาย : อาการชา สูญเสียการรับความรู้สึก
2) เส้นประสาทควบคุมกล้ามเนื้อถูกทำลาย : กล้ามเนื้อลีบ และเกิดอัมพาตของกล้ามเนื้อตามมือ เท้าใบหน้า
3) เส้นประสาทอัตโนมัติที่ควบคุมหลอดเลือดและต่อมเหงื่อถูกทำลาย : เหงื่อไม่ ออก ผิวหนังแห้ง ขนร่วง หลอดเลือดตีบ
M. tuberculosis
การก่อโรค
วัณโรค (Tuberculosis)
- เกิดได้กับทุกส่วนของร่างกาย โดยเฉพาะที่ปอด >> วัณโรคปอด (Pulmonary tuberculosis)
- เกิดจากการหายใจสูดดมเอาละอองของเชื้อเข้าไป
- กลุ่มเสี่ยง >> ประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น มีการระบายอากาศไม่ดี ผู้ที่ติดสุรา รับสารอาหารไม่ครบถ้วน อดนอน เครียดต่อการทำงาน
- เด็กทารก และผู้มีอายุ 16-21 ปี มีความเสี่ยงต่อการติดโรคได้ง่าย
อาการและอาการแสดง
- เยื่อหุ้มปอดอักเสบ เจ็บหน้าอก ไอ มีไข้ตอนบ่าย เหงื่อออกตอนกลางคืน เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
- เชื้อกระจายไปยังส่วนต่าง " ของร่างกายหลังจากเกิดภาวะ Bacteremia
- การติดต่อ : การไอ และจากเสมหะ
- สร้างภูมิต้านทาน : ฉีดวัคซีน BCG