Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต (Hypertensive crisis)
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้อหัวใจตาย (Myocardial infarction)
เจ็บแน่นหน้าอกแบบเฉียบพลัน/แบบไม่คงที่ (Unstable angina)
อาการโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน (Acute cardiovascular syndromes)
ภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า (Aortic dissection)
hypertensive encephalopathy อาการทางสมอง
น้ําท่วมปอด (Pulmonary edema)
การรักษา
ยาลดความดันโลหิตที่พึงประสงค์ควรออกฤทธิ์เร็วและหมดฤทธิ์เร็วเมื่อหยุดยา มีผลข้างเคียงต่อตับและไต
ได้แก่กลุุ่ม vasodilator, adrenergic blocker, calcium channel blocker, angiotensin-converting enzyme inhibitor
ต้องให้การรักษาทันทีใน ICUและให้ยาลดความดันโลหิตชนิดฉีดเข้า
หลอดเลือดดํา
การพยาบาล
ในระหว่างได้รับยา
ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตามความดันโลหิตอย่างใกล้ชิด
ผู้ป่วยที่มีสมองขาดเลือดร่วมกับความดันโลหิตสูงวิกฤต ควรควบคุมความดันโลหิตให้ต่ํากว่า 180/105 มม.ปรอทใน 24 ชั่วโมงแรก
ประเมินการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลาย
ประเมินการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงไต
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents
ให้ sodium nitroprusside จนสามารถคุมความดันโลหิตได้ ขนาดยาสูงสุดให้ไม่เกิน 10 mcg/kg/minผสมยาใน D5WและNSS
1.ในระยะเฉียบพลัน
Neurologic symptoms
Cardiac symptoms
Acute kidney failure
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทํากิจกรรม
การจัดท่านอนให้สุขสบาย การปฏิบัติกิจวัตรประจําวันต่างๆ และจัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ
ให้ความรู้/ข้อมูล
Cardiac dysrhythmias
Ventricular tachycardia (VT) หมายถึง ภาวะหัวใจเต7นผิดจังหวะชนิดที่ventricle เป`นจุดกําเนิดการเต7นของหัวใจ ในอัตราที่เร็วมากแต;สม่ําเสมอ 150-250 ครั้ง/นาที
ประเภทของ VT แบ่งเป็น
Nonsustained VT คือ VTที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า 30วินาที
Sustained VT คือ VTที่เกิดต;อเนื่องกันเป็นเวลานานกว่า 30วินาที ซึ่งมีผลทําให้ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง
Monomorphic VT คือ VT ที่ลักษณะของ QRS complexเป็นรูปแบบเดียว
Polymorphic VT หรือ Torsade คือ VT ที่ลักษณะของ QRS complexเป็นรูปแบบเดียว
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดทันที ผู้ป่วยจะรู้สึกใจสั่น ความดันโลหิตต่่ำ หน้ามืด เจ็บหน้าอก หายใจลําบาก หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
1.นําเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทยTช์ทันที และเปิดหลอดเลือดดําเพื่อให้ยาและสารน้ํา
2.v/s
3.ร่วมกับแพทย์ในการดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ให้เตรียมผู้ป่วยในการทํา synchronized cardioversion
5.ในผู้ป่วยที่เกิด VTและคลําชีพจรไม่ได้ (Pulseless VT) ให้เตรียมเครื่องDefibrillator
6.ทํา CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
Ventricular fibrillation (VF) หมายถึง ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ventricle เป็นจุดกําเนิดการเต้นของหัวใจตําแหน่งเดียวหรือหลายตําแหน่ง เต้นรัวไม่เป็นจังหว่ะ
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดทันที คือ หมดสติ ไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย เนื่องจากหัวใจไม่สามารถสูบฉีดโลหิตออกมาได้ และเสียชีวิต
การพยาบาล
เตรียมเครื่งมือ อุปกรณ์และยาที่ใช้ในการช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อมและทํา CPR ทันที เนื่องจากการรักษา VFและ Pulseless VTสิ่งที่สําคัญคือ การช็อกไฟฟ้าหัวใจทันที และการกดหน้าอก
Atrial fibrillation (AF) คือ ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น อ่อนเพลีย เหนื่อยเวลาออกแรง คลําชีพจรที่ข้อมือได้เบา
การพยาบาล
1.ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
2.สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
3.ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ
4.ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดตามแผนการรักษาในผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ว่ามีลิ่มเลือดเกิดขึ้น
5.เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทํา Cardioversion
6.เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟsาความถี่สูง(Radiofrequency Ablation)
ประเภทของ AF
Permanent AFหมายถึง AFที่เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปีโดยไม่เคยรักษา
Recurrent AFหมายถึง AFที่เกิดซ้ำมากกว่า 1 ครั้ง
Persistent AFหมายถึงAF ที่ไม่หายได้เองภายใน 7 วัน หรือหายได้ด้วยการรักษาด้วย
Lone AFหมายถึง AFที่เป็นในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60 ปี ที่ไม่มีความผิดปกติของหัวใจ
Paroxysmal AF หมายถึง AF ที่หายได้เองภายใน 7 วันโดยไม่ต้องใช้ยา
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute Heart Failure [AHF])
กลุ่มอาการ
3.Pulmonary edemaหมายถึง ภาวะที่มีอาการและอาการแสดงของปอดบวมน้ําร่วมด้วยอย่างชัดเจน ความอิ่มตัวของออกซิเจนต่ำกว่าร้อยละ 90
4.Cardiogenic shockหมายถึง ภาวะที่ร่างกายมี poor tissue perfusion ถึงแม้จะมีการแก้ไขภาวะขาดน้ําแล้วก็ตาม BP ต่ำ
5.High output failure หมายถึง ภาวะหัวใจล้มเหลวโดยมีปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีสูงกว่าปกติ
2.Hypertensive acute heart failureหมายถึง กลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการภาวะหัวใจล้มเหลวที่มีปอดบวมน้ํา
6.Right heart failureหมายถึง ภาวะที่หัวใจด้านขวาทํางานล้มเหลว
1.Acute decompensated heart failureหมายถึง อาการภาวะหัวใจล้มเหลวที่เกิดขึ้นเฉียบพลันแต่ไม่มีอาการรุนแรงมาก
อาการและอาการแสดง
หายใจเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้ อ่อนเพลีย บวมตามแขนขา ความดันโลหิตปกติหรือ ต่ํา/สูง ท้องอืดโต แน่นท้อง ปัสสาวะออกน้อย/มาก หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว เส้นเลือดดําที่คอโป่งพอง ฟังได้ยินเสียงปอดผิดปกติ
สาเหตุ
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ ภาวะหัวใจวาย
การรักษา
3.การใช้ยา
ยาเพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจ
ยารักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ยาขยายหลอดเลือดหัวใจ
ยาขยายหลอดเลือด
4.การรักษาสาเหตุได้แก่ การขยายหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี, การเปลี่ยนลิ้นหัวใจในโคโรนารี, การรักษาภาวะติดเชื้อ
2.การดึงน้ําและเกลือแร่ที่คั่งออกจากร่างกาย (Negative fluid balance)
1.การลดการทํางานของหัวใจ(Decrease cardiac workload)
การประเมินสภาพ
2.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ CBC, biochemical cardiac markers, ABG
3.การตรวจพิเศษ ได้แก่ CXR, echocardiogram, CT, coronary artery angiography (CAG)
1.การซักประวัติและตรวจร่างกายเพื่อประเมินอาการทางคลินิกที่เกี่ยวข7อง
ภาวะช็อก (Shock)
ประเภทของช็อก
1.ภาวะช็อกจากการขาดสารน้ํา(Hypovolemic shock)
เกิดจากการลดลงของปริมาณของเลือดหรือสารน้ําในร;างกาย (การสูญเสียมากกว่า 30-40% ของปริมาตรเลือด) ทําให้ปริมาณเลือดที่กลับเข้าสู่หัวใจ(Venous return หรือ preload)ลดลง
2.ภาวะช็อกจากภาวะหัวใจล5มเหลว(Cardiogenic shock)
เป็นภาวะช็อกที่เกิดจากหัวใจไม่สามารถส่งจ่ายเลือดไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย โดยที่มีปริมาตรเลือดในระบบไหลเวียนโลหิตอย่างเพียงพอ
3.ภาวะช็อกจากหลอดเลือดมีการขยายตัว(Distributive shock, vasogenic)
ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ(Septic shock)
ภาวะช็อกจากการแพ้(Anaphylactic shock)
ภาวะช็อกจากการทํางานผิดปกติของต่อมหมวกไต(Hypoadrenal /adrenocortical shock)
ภาวะช็อกจากการอุดกั้นการไหลเวียนของเลือดเข้าสู่หัวใจ(Obstructive shock)
ภาวะช็อกจากความผิดปกติของระบบประสาท(Neurogenic shock)
อาการและอาการแสดง
ไตและการขับปัสสาวะ ปัสสาวะออกน้อย
ทางเดินอาหาร กระเพาะอาหารและลําไส้ขาดเลือด ตับอ่อนอักเสบ ดีซ่าน
หายใจ หายใจเร็วลึก ระดับออกซิเจนในเลือดต่ํา ระบบหายใจล้มเหลว
เลือดและภูมิคุ้มกัน การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ ภาวะลิ่มเลือดกระจายทั่วร่างกาย
ต่อมไร้ท่อ น้ําตาลในเลือดสูงหรือต่ํา ภาวะร่างกายเป็นกรด
หัวใจและหลอดเลือด ชีพจรเบาเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
ประสาทส่วนกลาง กระสับกระส่าย ซึม หมดสติ เซลล์สมองตาย
ระยะของช็อก
2.ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะท้าย (Decompensated shock)คือ ภาวะช็อกที่ได้รับการวินิจฉัยล่าช้า เซลล์ในร่างกายเริ่มตาย
3.ภาวะช็อกที่ไม่สามารถชดเชยได้ (Irreversible shock)คือ ภาวะช็อกที่ได้รับการวินิจฉัยช้าเกินไป จนทําให้เซลล์หรืออวัยวะต่างๆในร่างกายได้รับความเสียหายเป็นอย่างมาก
1.ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะแรก (Compensated shock)คือ ภาวะช็อกที่ได้รับการวินิจฉัยตั้งแต่เริ่มต้น ได้รับการรักษาทั้งการให้สารน้ำและยาที่เหมาะสม
การรักษา
2.การแก้ไขภาวะพร่องออกซิเจนของเนื้อเยื่อและการลดการใช้ออกซิเจน
3.การรักษาที่เฉพาะเจาะจงตามสาเหตุของภาวะช็อก เช่น การให้ยาปฏิชีวนะ
1.การแก้ไขระบบไหลเวียนโลหิตให้ได้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีเพียงพอ
การให้สารน้้ำ
การให้ยาที่มีผลต่อการบีบตัวของหัวใจ (Inotropic agent)
4.การแก้ไขความผิดปกติของภาวะกรดด่าง