Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต (Hypertensive crisis) - Coggle Diagram
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต (Hypertensive crisis)
สาเหตุ
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที (Sudden withdrawal of antihypertensive medications)
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทำให้ความดันโลหิตสูง เช่น ยาคุมกำเนิด ยาต้านการอักเสบที่ไม;ใช;สเตียรอยด
อาการและอาการแสดง
กลุ่มอาการโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน (Acute cardiovascular syndromes)
กล้ามเนื้อหัวใจตาย (Myocardial infarction)
เจ็บแน่นหน้าอกแบบเฉียบพลันแบบไม่คงที่ (Unstable angina)
น้ำท่วมปอด (Pulmonary edema)
น้ำท่วมปอด (Pulmonary edema)
การซักประวัติ
ซักประวัติการเป็นโรคประจำตัว
โรคความดันโลหิตสูง
ความสม่ำเสมอในการรับประทานยา
ผลข้างเคียงของยาที่ใช้การสูบบุหรี
โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
มีอาการ เจ็บหน้าอก (chest pain)
เหนื่อยง่ายแนะนอกเวลาออกแรง
ไตวายเฉียบพลัน จะพบว่า ปริมาณปnสสาวะลดลง
การตรวจร่างกาย
วัดสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิตเปรียบเทียบกันจากแขนซ้ายและขวา น้ำหนัก
ถ้าพบ Papilledema ช;วยประเมินภาวะ increased intracranial pressure ตรวจ retina
ถ้าพบ cotton-wool spots and hemorrhages แสดงว่า มีการแตกของ retina blood vessels และ retina nerves ถูกทำลาย
Chest pain บอกอาการของ acute coronary syndrome or aortic dissection
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ตรวจ CBC ประเมินภาวะ microangiopathic hemolytic anemia (MAHA)
ตรวจการทำงานของไตจากค่า Creatinine และ Glomerular filtration rate (eGFR) และค่าอัลบูมินในปnสสาวะ
ในรายที่สงสัยความผิดปกติของสมอง ส่งตรวจเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสมอง
การรักษา
ในระยะเฉียบพลัน
Neurologic symptoms
สับสน confusion, stupor
seizures, coma
stroke
Cardiac symptoms
aortic dissection
myocardial ischemia
dysrhythmias
Acute kidney failure
อาจจะไม่ได้เกิดขึ้นทันที BUN Cr จะมีค่าขึ้นสูงได้
บ่งบอกถึงไตได้รับผลกระทบจากความดันโลหิตสูง
ในระหว่างได้รับยา
ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตามความดันโลหิต
ผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด ไม่ควรลด SBP ลงมาต่ำกว่า 120 มม.ปรอท ความดันโลหิต DBP ที่เหมาะสม คือ 70-79 มม.ปรอท
ถ้ายากลุ่ม vasodilator ลด DBP มากเกินไป เมื่อ coronary artery filling เกิดจะทำให้เกิด myocardial ischemia
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents
sodium nitroprusside
แพททย์จะเริ่มให7ขนาด 0.3-0.5 mcg/kg/min
เพิ่มครั้งละ 0.5 mcg/kg/minทุก 2-3 นาทีจนสามารถคุมความดันโลหิตได้
ขนาดยาสูงสุดให7ไม่เกิน 10 mcg/kg/min ผสมยาใน D5W และ NSS หลังจากผสมแล้วยาคงตัว 24 ชั่วโมง
เก็บยาให้พ้นแสงและตลอดการให้ยาแก่ผู้ป่วย หากพบว่ายาเปลี่ยนสีเข้มขึ้น หรือเป็นสีส้ม น้ำตาล น้ำเงิน ห้ามใช้ยาเนื่องจากเกิดการสลายตัวของยา
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจกรรม
การจัดท่านอนให้สุขสบาย
การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่างๆ
จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ
ให้ความรู้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการรักษา
ควบคุมความดันโลหิต และเหตุผลที่ต้องติดอุปกรณ์ที่ใช้เฝ้าระวังต่างๆ
หลังจากควบคุมความดันโลหิตได้แล้วควรให้ข้อมูลเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนการดำเนินชีวิตเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ (Risk for ineffective cerebral tissue perfusion)
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลายไม่เพียงพอ (Risk for ineffective peripheral tissue
perfusion)
วิตกกังวล (Anxiety related to threat to biologic, psychologic, or social integrity)
พร่องความรู้ (Deficient knowledge related to lack of previous exposure to information)