Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อันตรายจากสภาพสิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ - Coggle Diagram
อันตรายจากสภาพสิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ
อันตรายจากเสียงและการควบคุมป้องกัน
เสียง
ความถี่ของเสียง Frequency of sound
ความดันของเสียง Sound pressure
เสียงดัง Noise
ประเภทของเสียง
เสียงที่เปลี่ยนแปลงระดับเสมอ
เสียงที่มีระดับความเข้มข้นไม่คงที่ สูงๆต่ำๆ
เปลี่เปลี่ยนแปลงระดับเสียงที่เกินกว่า 5 เดซิเบลใน 1 วินาที
เสียงเลื่อยวงเดือน เสียงจากกบไสไม้ไฟฟ้า เสียงไซเรน
เสียงที่ดังเป็นระยะ
เสียงที่มีความดังไม่ต่อเนื่อง
พบจากเครื่องอัดลม เครื่องเป่าหรือเครื่องระบายไอน้ำ เครื่องจากการจราจรหรือเสียงจากเครื่องบิน
เสียงกระแทก
ระดัระดับเสียงกระทบหรือเสียงเกิน 140 เดซิเบลเอ
เสียงที่ดังสม่ำเสมอ
มีมีการเปลี่ยนแปลงระดับเสียงที่เกินกว่า 5 เดซิเบลใน 1 วินาที
เสียงที่มีความดังต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน
เสียงเครื่องจักร เสียงทอผ้า เสียงจากพัดลม
อันตรายจากการทำงานที่เกิดจากเสียงดัง
การการสูญเสียการได้ยินชั่วคราว
เกิดอาการหูตึงชั่วคราว
สามารถกลับสู่ระดับปกติได้
เซลล์ประสาทรับการได้ยินมีอาการล้า
การสูญเสียการได้ยินอย่างถาวร
เกิดเมื่อสัมผัสเสียงดังมาก
ความถี่ที่ 3000-6000 Hz
การควบคุมและป้องกันอันตรายจากเสียงดัง
การควบคุมเสียงที่ทางผ่าน
การควบคุมเสียงที่ผู้ปฏิบัติงาน
การลดระดับเสียงที่แหล่งกำเนิด
โครงการอนุรักษ์การได้ยิน
การเฝ้าระวังเสียงดัง
ศึกษาระยะเวลาสัมผัสเสียงดัง
ประเมินการสัมผัสเสียงดังของพนักงานในและแจ้งผลให้พนักงานทราบ
สำรวจและตรวจวัดระดับเสียง
การเฝ้าระวังการได้ยิน
แจ้งผลการทดลองสมรรถภาพการได้ยิน
ทดสอบสมรรถภาพการได้ยินของลูกจ้างซ้ำ
ทดสอบสมรรถภาพการได้ยิน
นโยบายการอนุรักษ์การได้ยิน
กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ที่เกี่ยวข้อง
อันตรายจากการสั่นสะเทือนและการควบคุมป้องกัน
อันตรายจากการทำงานที่เกิดจากการสั่นสะเทือน
อันตรายที่เกิดจากการสั่นสะเทือนเฉพาะบางส่วนของร่างกาย
เครื่องมืออุปกรณ์ที่มีการสั่นสะเทือน
เครื่องย้ำหมุด
เครื่องเจาะหิน
เเรื่อยๆไฟฟ้า
อาการผิดปกติ
อาการผิดปกติของอาการผิดปกติของหลอดเลือดเรียกว่า
Raynaud's Syndrome
อันตรายที่เกิดจากการสั่นสะเทือนทั้งร่างกาย
การควบคุมและป้องกันอันตรายความสันสะเทือน
ใช้ถุงมือป้องกันความสันสะเทือน
มีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนงาน ไม่ใช้เครื่องมือที่มีการสั่นสะเทือนเป็นระยะเวลานาน
ใช้เครื่องมืออย่างถูกวิธีและมีการบำรุงรักษาที่ดีอย่างต่อเนื่อง
ขนาดทำงานที่ต้องสัมผัสความฉันจะเตือนควรจัดให้มีการหยุดพักย่อยเป็นระยะ
เลือกใช้เครื่องมือที่มีระบบป้องกันการสั่นสะเทือนหรือมีความสั่นสะเทือนน้อย
รักษาร่างกายให้อบอุ่นโดยเฉพาะบริเวณมือเพื่อให้เลือดไหลเวียนได้สะดวก
อันตรายจากแสงสว่างและการควบคุมป้องกัน
แหล่งกำเนิดแสงสว่าง
แสงสว่างจากธรรมชาติ
แสงสว่างจากการประดิษฐ์
อันตรายจากแสงสว่างในการทำงาน
แสงสว่างที่มากเกินไป
ผู้ทำงานเกิดความไม่สบายตา
เมื่อยล้า ปวด แสบตา มึนศีรษะ วิงเวียน อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้
แสงจ้า
เกิดจากแรงกำเนิดโดยตรง
เกิดจากการสะท้อนแสงจากวัสดุที่อยู่ในสิ่งแวดล้อม
ฝาผนังห้อง เครื่องมือ เครื่องจักร โต๊ะทำงาน เป็นต้น
แสงสว่างที่น้อยเกินไป
ทำให้กล้ามเนื้อตาทำงานมากเกินไป
ทำให้เกิดอาการเมื่อยล้าของตา ปวดตา มึนศีรษะ
ม่านตาเปิดกว้างเพราะการมองเห็นนั้นไม่ชัดเจน
อันตรายจากอุณหภูมิและการควบคุมป้องกัน
ความร้อนกับการทำงาน
ความร้อนแห้ง
ความร้อนชื้น
อันตรายจากความร้อน
เป็นลมเนื่องจากความร้อนในร่างกายสูง Heat stroke
การอ่อนเพลียเนื่องจากความร้อน Heat exhaustion
เป็นตะคริวเนื่องจากความร้อน Heat cram
อาการผดผื่นขึ้นตามบริเวณผิวหนัง Heat Rash
การขาดน้ำ Dehydration
โรคจิตประสาทเนื่องจากความร้อน Heat Neurosis
การควบคุมและป้องกันอันตรายจากความร้อน
การควบคุมความร้อนที่บริเวณที่ทำงาน ( ทางผ่าน)
การลดความชื้นของอากาศ
การลดรังสีความร้อน
การลดอุณหภูมิอากาศลง
การควบคุมความร้อนและป้องกันอันตรายที่ตัวผู้ปฏิบัติงาน
การหมุนเวียนกันมาทำงานในที่มีความร้อน
การลดความหนักของงานที่ทำลง
การสร้างความคุ้นเคย
การฝึกอบรม
การจัดน้ำดื่มทดแทนการสูญเสียน้ำในร่างกาย
การลดหรืองดรับประทานอาหารหนักในช่วงพักระหว่างทำงาน
การควบคุมความร้อนที่แหล่งกำเนิดความร้อน
การติดตั้งฉากกันความร้อน ณ แหล่งกำเนิดความร้อน
การแยกแรงความร้อนออกไป
การหุ้มด้วยชนวนกันความร้อน