Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต, 11296342_l, images…
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute Heart Failure [AHF])
การเกิดอาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างรวดเร็วจากการทำงานผิดปกติของหัวใจทั้งการบีบตัวหรือการคลายตัวของหัวใจ
พยาธิสรีรวิทยา
(heterometric compensation)
(compensatory mechanism)
โดยการกระตุ้น baroreceptor reflex
เกิดperipheral vasoconstriction ทำให้มี peripheral resistance เพิ่มมากขึ้น
afterload เพิ่มขึ้น
เนื่องจากมี preload เพิ่มขึ้นขณะเดียวกันมีการเพิ่มของ neurohormonal activation
ได้แก่renin-angiotensin-aldosterone, vasopressin, aldosterone
1 more item...
สาเหตุ
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ ภาวะหัวใจวายกลไกการไหลเวียนของเลือดผิดปกติเฉียบพลัน โรคหัวใจใดๆที่ทรุดลงตามการดำเนินโรค
อาการและอาการแสดง
ภาวะนี้เป็นกลุ่มอาการที่มีอาการแสดงได้ 6 รูปแบบ
Acute decompensated heart failure
Hypertensive acute heart failure
Pulmonary edema
Cardiogenic shock
High output failure
Right heart failure
อาการและอาการแสดงของผู้ป่วยที่พบบ่อย
หายใจเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้ อ่อนเพลีย บวมตามแขนขา ความดันโลหิตปกติหรือ ต่ำ/สูง ท้องอืดโตแน่นท้อง ปัสสาวะออกน้อย/มาก หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว
การรักษา
1.(Decrease cardiac workload)
2.(Negative fluid balance)
การใช้ยา
3.1 ยาเพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจ เช่น digitalis (digoxin)
3.2 ยารักษาภาวะหัวใจเต7นผิดจังหวะ เช่น amiodarone
3.3 ยาขยายหลอดเลือดหัวใจ เช่น nitroglycerine / isodril (NTG)
การประเมินสภาพ
การซักประวัติและตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC, biochemical cardiac markers, ABG
การตรวจพิเศษ
CXR, echocardiogram, CT, coronary artery angiography (CAG)
การพยาบาล
มีเป้าหมายสำคัญคือ
การลดการทำงานของหัวใจ และส่งเสริมการไหลเวียนเลือดไปยังเซลล์ให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
กิจกรรมการพยาบาล
การลดการทำงานของหัวใจ
การลดความต้องการใช้ออกซิเจนของร่างกาย
การเพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูแลให้กล้ามเนื้อหัวใจได้รับการไหลเวียนเลือด
ดูแลการทำงานของเครื่องกระตุ้นจังหวะหัวใจ
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับการตอบสนองตามความต้องการพื้นฐาน
ดูแลติดตามการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ประเมินสัญญาณชีพทุก 1-2 ชั่วโมง
ดูแลติดตามและบันทึกค่า CVP, PCWP
สังเกต/บันทึกปริมาณปัสสาวะทุก 1 ชั่วโมง (keep urine output >= 0.5 ml/kg/hr.)
จัดสิ่งแวดล้อมให7เอื้อต้อการนอนหลับพักผ่อน
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญกับความเจ็บป่วย
สอนและแนะนำเทคนิคการผ่อนคลายที่สอดคล้องกับความสนใจของผู้ป่วย
กระตุ้นและส่งเสริมให้ครอบครัว ญาติหรือบุคคลใกล้ชิดมีส่วนรวมในการดูแลผู้ป่วย
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาและการเปลี่ยนแปลงของอาการที่เกิดขึ้น
ภาวะช็อก (Shock)
จากการขาดออกซิเจนในระดับเซลล์ (Cellular dysoxia)
ทำให้เกิดภาวะเสียสมดุลระหว่างปริมาณออกซิเจนที่ถูกขนส่งไปยังเนื้อเยื่อ (Oxygen delivery)
ความต้องการใช้ออกซิเจนของเนื้อเยื่อ (Oxygen consumption) ส่งผลให้อวัยวะต่างๆเสียหน้าที่
ทำให้ปริมาณออกซิเจนที่ส่งไปเลี้ยงเนื้อเยื่อไม่เพียงพอ (poor tissue perfusion)
เสียสมดุลของการเผาผลาญระดับเซลล์อวัยวะต่างๆขาดออกซิเจน และสูญเสียหน้าที่ (Organ dysfunction)
พยาธิสรีรวิทยาและพยาธิสภาพ
การนำออกซิเจนสู่เนื้อเยื่อส่วนปลาย (DO2)
ปริมาณของออกซิเจนในเลือด(Oxygen content, CaO2)
ปัจจัยด้านสรีรวิทยาของการไหลเวียนโลหิต
(Blood pressure: MAP)
Systemic vascular resistance, SVR)
(Ejection fraction, EFหรือ contractility)
(End diastolic volume, EDV)
(Heart rate), (CaO2)
เข้มข้นของระดับ hemoglobin (Hb)
(Oxygen saturation, SaO2)
(Partial arterial oxygen pressure, PaO2)
เมื่อการทำงานของสรีรวิทยาของการไหลเวียนโลหิตล้มเหลว
ทำให้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อการหดตัวหนึ่งครั้ง (Stoke volume)
(Cardiac output, CO) ลดลง
ความดันโลหิตตัวบนลดต่ำลง (SBP < 90 mmHg.
ความดันโลหิตตัวบนลดต่ำลงกว่า 40 mmHg.)
ความดันโลหิตเฉลี่ยต่ำกว่า 65 mmHg.
(Mean arterial pressure [MAP = 1/3 SBP + 2/3 DBP)
เนื่องจากภาวะช็อกเป็นภาวะที่เกิดจากความไม่สมดุลระหว่างปริมาณออกซิเจนที่ขนส่งไปยังเนื้อเยื่อ
(Oxygen delivery, DO2) กับความต้องการใช้ออกซิเจนของเนื้อเยื่อ
(Oxygen consumption)
(Cardiac output) ลดลง
นำไปสู่ภาวะหนี้ออกซิเจน (Oxygen debt)
(จุดวิกฤตของอุปทานออกซิเจน, critical DO2)
ส่งผลให้เกิดการสะสมของเสีย ที่เรียกว่า Lactate ในเลือดสูงขึ้น
ทำให้ปริมาณออกซิเจนที่สูงไปเลี้ยงเนื้อเยื่อไม่เพียงพอ (poor tissue perfusion)
1 more item...
ระยะของช็อก
ประเภทของช็อก
ภาวะช็อกจากการขาดสารน้ำ (Hypovolemic shock)
(การสูญเสียมากกว่า 30-40% ของปริมาตรเลือด)
(Venous return หรือ preload) ลดลง
สูงผลให้ความต้านทานของหลอดเลือดส่วนปลาย (SVR) สูงขึ้น
เพื่อเพิ่ม Cardiac output
สาเหตุ
การสูญเสียสารน้ำจาก อาเจียน ท้องเสียรุนแรง
การสูญเสียเลือดจากการมีเลือดออกในระบบทางเดินอาหาร เลือดออกในช่องท้อง หรืออุบัติเหตุ
ภาวะช็อกจากภาวะหัวใจล5มเหลว (Cardiogenic shock)
เป็นภาวะช็อกที่เกิดจากหัวใจไม่สามารถส่งจ่ายเลือดไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย
สาเหตุ
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจและผนังหัวใจ
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ภาวะช็อกจากหลอดเลือดมีการขยายตัว (Distributive shock, vasogenic / vasodilatory shock, Inflammatory shock)
3.1 ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ (Septic shock)
กลไกการเกิดจากการติดเชื้อ(pathogen) ซึ่งเชื้อโรคจะมีการหลั่งชีวพิษในตัว (endotoxin) ร่างกาย
ส่งผลให้ปริมาตรเลือดที่ไหลกลับสูบหัวใจ
ลดลง หรือเรียกว่า " ระยะอุ่น" (Warm shock, warm stage)
ผู้ป่วยที่มีภาวะช็อกจากการติดเชื้ออาจเกิดภาวะ Disseminated intravascular coagulation
(DIC) ได้
3.2 ภาวะช็อกจากการแพ้(Anaphylactic shock)
เกิดจากปฏิกิริยาของผู้ป่วยที่ได้รับ antigen กับantibody ของร่างกาย (antigen-antibody reaction) ทำให้เกิด hypersensitivity type I ซึ่ง IgE
มักพบว่าผู้ป่วยมีอาการบวมเฉพาะแห้ง ร้อนแดง (flush) ตัวแดง (flare) ความดันโลหิตต่ำผิวหนังเกิดผื่นแดง
3.3 ภาวะช็อกจากการทำงานผิดปกติของตAอมหมวกไต (Hypoadrenal / adrenocortical shock)
เป็นภาวะช็อกที่ร่างกายไม่สามารถผลิต cortisol ในปริมาณมากพอกับความต้องการในการประคับประคองความดันโลหิตในขณะที่ร่างกายเกิดความเครียด มักพบในผู้ป่วย adrenal insufficiency
ภาวะช็อกจากการอุดกั้นการไหลเวียนของเลือดเข้าสู้หัวใจ (Obstructive shock)
สาเหตุภายนอกหัวใจ ส่งผลให้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจลดลง สาเหตุที่พบบ่อยได้แก่ Cardiac tamponade, tension pneumothorax
ภาวะช็อกจากความผิดปกติของระบบประสาท (Neurogenic shock)
ความบกพร่องในการควบคุมของระบบประสาทอัตโนมัติ ที่ควบคุมการขยายตัวและการหดตัวของหลอดเลือด (Vasomotor tone) เป็นผลให้มีการขยายตัวของหลอดเลือดดำและหลอดเลือดแดงขึ้นทันใด
อาการและอาการแสดง
ประสาทส่วนกลาง
กระสับกระสาย ซึม หมดสติ เซลล์สมองตาย
หัวใจและหลอดเลือด
ชีพจรเบาเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
หายใจ
หายใจเร็วลึก ระดับออกซิเจนในเลือดต่ำ ระบบหายใจล้มเหลว
ไตและการขับปัสสาวะ
ปัสสาวะออกน้อย
ทางเดินอาหาร
กระเพาะอาหารและลำไส้ขาดเลือด ตับอ่อนอักเสบ
เลือดและภูมิคุ้มกัน
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ ภาวะลิ่มเลือดกระจายทั่วร่างกาย
ต่อมไร้ท่อ
น้ำตาลในเลือดสูงหรือต่ำ ภาวะร่างกายเป็นกรด
แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
1.(Compensated shock)
2.(Decompensated shock)
3.(Irreversible shock)
การรักษา
การแก้ไขระบบไหลเวียนโลหิตให้ได้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีเพียงพอ
1.1 การให้สารน้ำ ได้แก่ Crystalloid solution
1.2 การให้ยาที่มีผลต่อการบีบตัวของหัวใจ (Inotropic agent)
การแก้ไขภาวะพร่องออกซิเจนของเนื้อเยื่อและการลดการใช้ออกซิเจน
การรักษาที่เฉพาะเจาะจงตามสาเหตุของภาวะช็อก เช่น การให้ยาปฏิชีวนะ
การแก้ไขความผิดปกติของภาวะกรดด่าง
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการCBC, BUN, Cr, electrolyte, lactic acid, arterial blood gas
การตรวจพิเศษ เช่น x-ray, CT, echocardiogram, ultrasound.
การพยาบาล
การป้องกันเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
1.1 ประเมินภาวะขาดออกซิเจน โดยการติดตามสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง
1.2 ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง มีการระบายอากาศที่ดี โดยการดูดเสมหะ
1.3 ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
การส่งเสริมการไหลเวียนโลหิตอย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
2.1 ดูแลให้สารน้ำและอิเล็กโตรไลท์ทดแทนตามแผนการรักษา
2.2 ดูแลให้ยา (Dopamine, Dobutamine, Epinephrine Norepinephrine)
2.3 ดูแลจัดทำนอนหงายราบ ยกปลายเท้าสูง 20-30 องศา
การแก้ไขสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะช็อก
3.1 ดูแลเตรียมให้ได้รับการตรวจเพื่อหาสาเหตุ
3.2 ดูแลใหยาละลายลิ่มเลือดตามแผนการรักษา
3.3 ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยและครอบครัวต่อภาวะวิกฤตที่เกิดขึ้น
4.1 ให้ข้อมูล อธิบายเหตุผลก่อนทำกิจกรรมการพยาบาล
4.2 เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยและครอบครัวได้ระบายความรู้สึก วิตกกังวล
4.3 ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล ให้เกียรติผู้ป่วย